Announcement

Collapse
No announcement yet.

D.I.Y.ตอน เครื่องขยายเสียง

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • เรื่อง L นี่อันตราย...คงไม่น่าใช้
    เรื่องR นี่ ผมก็ไม่ค่อยสนเท่าไหร่
    เรื่อง C นี่ใช้ประจำ..เลยงงๆให้ความสนใจครับ

    Originally posted by dracoV View Post

    ศงสัยคุณเสือคง งงกับเรื่องGround อยู่หน่อยนะ
    เอาง่ายๆว่า Ground หลัก 0 volt ตือกราวด์ที่มีตัวตนอยู่แล้วเช่นจาก center tab จากหม้อแปลง หรือ Earth ground ก็เป็นกราวด์หลักอีกอย่างนึงได้เหมือนกัน
    ส่วน virtual ground คือกราวด์ที่สร้างขึ้นมาทีหลัง (สร้าง Vref แทน/เทียบเป็นจุด 0 volt)
    ดูง่ายๆว่า ยกตัวอย่าง เอา R มาทำ virtual ground ถ้าไม่มี R มาต่อทำ ก็ไม่มีกราวด์นี้ขึ้นมา ก็ดูได้ว่าอันนี้คือ Virtual Ground
    ส่วนกราวด์หลัก System Ground หรือ Earth Ground มันจะมีอยู่เองแล้ว ไม่ว่าจะเอา R หรือ C มาต่อเพื่อหวังเป็นกราวด์หรือไม่
    คือ แบบ System ground ก็คือ R หรือ C ที่มาต่อ ก็คือมาใช้งาน ground ไม่ได้มาสร้าง ground น่ะครับ
    Ground ที่สร้างขึ้นมาเป็นกราวด์หลัก System Ground
    ถึงเรียกว่า virtual ground
    Ground ที่สร้างขึ้นมา ต่อกับGround ตัวอื่น
    ไม่เรียกว่า virtual ground
    น่าจะงงกับเรื่องการเรียกมากกว่าครับ
    Last edited by tiger X-fi; 8 May 2014, 23:21:02.

    Comment


    • ไม่เกี่ยวกับต่อลง Earth ground หรือเปล่าถึงจะเป็น System ground
      คิดว่าคงเข้าใจ Ground ผิดน่ะ Ground คือจุดใดๆที่ เราเทียบ/ใช้เทียบ เป็น 0 Volt ของวงจร/ระบบ ก็คือ System Ground
      เอาแบบดูง่ายๆเลยก็ได้ จุดที่เราใช้เทียบเป็น 0V ซึ่งเรียกแทนว่า Ground
      - Real Ground จะต่อถึงหม้อแปลง โดยไม่มีอะไรคั่น ยกเว้น diode rectifier หรือ rectifier แบบอื่นๆ ในกรณีไม่มี center tab
      - Virtual Ground ก็ต่อไม่ถึงหม้อแปลง เพราะสร้างขึ้นมา จะมี วงจรสักอย่างมาต่อคั่น ไม่นับ diode rectifier หรือ rectifier แบบอื่นๆ
      ดูง่ายๆแบบนี้ก็ได้

      แต่ ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจกับคำว่า Ground ของวงจรก่อน
      + Ground คือคำเรียกแทน"จุดใดๆ"ที่ เราเทียบ/ใช้เทียบ เป็น 0 Volt (ขีดเส้นใต้)

      + Earth ground คือ ที่เอาไปจิ้มกับโลกน่ะ
      Last edited by dracoV; 8 May 2014, 23:39:15.

      Comment


      • Virtual Ground ตัวนี้ผมใช้บ่อยครับ


        ใช้หม้อ ไม่มี CT เป็น Virtual Ground+ filter
        ใช้หม้อมี CT เป็น filter
        น่ะครับพี่
        --------------
        เข้าใจแล้วครับ นอกจากเป็น filter ผมยังมองว่าเป็นVirtual Ground
        แต่ตัวมันไม่ได้ทำหน้าที่หลัก แล้วมีกราวน์เป็นจุดอ้างอิงแล้ว
        เลยกลายเป็นแค่ filter
        Last edited by tiger X-fi; 9 May 2014, 00:30:42.

        Comment


        • รูปวงจรหม้อแปลงไม่มีCT แต่รูปของจริงหม้อแปลงมีCT

          Comment


          • ที่ผมลองใช้หม้อลูกเดียว กับหม้อ2ลูกไงครับ
            Originally posted by tiger X-fi View Post
            ขดเดียว 35 0 หลังบริดจ์ ไดโอด +25 -0 - -25
            ไฟหน้า C 0.56-0.60v
            ไฟหลัง C 0
            C Filter 6800uf ไม่มี R Discharge เล่นได้ประมาณ 1-2 นาทีหลังปิดสวิท...555+
            2ขด 35 0 หลังบริดจ์ ไดโอด +51 -0 - -51
            ไฟหน้า C -1.8- -1.9v
            ไฟหลัง C 0
            -------
            ทดสอบไฟ 35 0
            2ขด 35 0 หลังบริดจ์ ไดโอด +51 -0 - -51
            กับขดเดียว 35 0 หลังบริดจ์ ไดโอด +25 -0 - -25
            ขดเดียว รู้ว่าเสียงโทนต่ำ จะแข็งขึ้นความนุ่มนิ่มน้อยลง
            เสียงฟาดไม้ CELLOS จะเหมือนใส่อารมณ์มากขึ้น
            (2ขด เหมือนบรรจงฟาดนุ่มไปนิด)

            Comment


            • หม้อลูกเดียว เอากราวน์ของCหน้าบริดจ์ไปต่อที่ไหน

              ไฟหน้า C 0.56-0.60v / ไฟหลัง C 0
              หมายถึงCตัวไหน

              ปิดโทรศัพท์ ?

              Comment


              • Originally posted by keang View Post
                หม้อลูกเดียว เอากราวน์ของCหน้าบริดจ์ไปต่อที่ไหน

                ไฟหน้า C 0.56-0.60v / ไฟหลัง C 0
                หมายถึงCตัวไหน

                ปิดโทรศัพท์ ?
                5555+โทรไม่ได้ปิดสงสัยลืมเติมนานเกินอีกแล้ว
                ไฟหน้า C 0.56-0.60v / ไฟหลัง C 0 ( C output)

                ต่อเข้าC filter 6800uf ครับพี่

                Comment


                • ที่ถามเรื่องโทรศัพท์ เพราะดูแนวโน้มคุยด้วยตัวอักษร ท่าทางจะยาว ใช้พูดคุยโดยตรงง่ายกว่า
                  เมื่อคืนก่อนเที่ยงคืนก็โทรไปทีนึงแล้วละ แต่เหมือนปิดเครื่อง ตะกี้โพสถามอันแรกเสร็จก็โทรอีกที เจอเหมือนปิดเครื่อง ก็เลยถาม..เผื่อลืมเปิด


                  เอาเซนเตอร์ของCหน้าบริดจ์ไดโอด มาต่อร่วมกับกราวน์ของชุดไฟ
                  แบบนี้เหมือน ใจดีมีเมตตา เอาขยะจากไฟAC มาเผื่อแผ่ แจกให้กราวน์ระบบเลยสิ

                  -- ปกติ Cที่เค้าต่อหน้าบริดจ์ไดโอด เค้าต่อคร่อมไฟหน้าบริดจ์ไดโอด --

                  วิธีที่คุณเสือต่อ เค้ามักใช้กับด้านไฟบ้าน220VAC ทำเป็นLine Filterเพื่อกรองเอาขยะไฟจากเมนบ้านลงกราวน์ดิน
                  Last edited by keang; 9 May 2014, 12:28:27.

                  Comment


                  • งงๆ....2ตัวนี้ก็ไม่มีไรต่างกันนี่ครับ
                    Ground จาก CT
                    กับ Virtual Ground




                    Originally posted by keang View Post

                    เอาเซนเตอร์ของCหน้าบริดจ์ไดโอด มาต่อร่วมกับกราวน์ของชุดไฟ
                    แบบนี้เหมือน ใจดีมีเมตตา เอาขยะจากไฟAC มาเผื่อแผ่ แจกให้กราวน์ระบบเลยสิ
                    เข้าใจแล้วครับ
                    Last edited by tiger X-fi; 9 May 2014, 12:46:44.

                    Comment


                    • > บทความของMIT --> Power-line Noise: How Series Filters Work

                      Most power-line treatment products depend upon series filters to correct AC line noise problems in the audio/video system. However, these series filters, unlike MIT's parallel filter system, have inherent flaws that make them ineffective at many vital frequencies in A/V use, and cause them to add more noise and distortions than they remove.

                      In this paper, we will explain how:
                      - series-filter noise rejection is ineffective in real-world systems
                      - series inductors create distortion products at audible frequencies
                      - noise that is supposed to go to "ground" is fed back into the circuit
                      - safety issues require the use of inadequate capacitance to reduce noise
                      - series-filter resonances actually create noise at audible frequencies
                      Last edited by keang; 9 May 2014, 13:05:08.

                      Comment


                      • Originally posted by tiger X-fi
                        งงๆ....2ตัวนี้ก็ไม่มีไรต่างกันนี่ครับ
                        Ground จาก CT
                        กับ Virtual Ground
                        ผมบอกคร่าวๆนะ พิมพ์เยอะๆไม่ไหว แล้วก็มีโอกาสเข้าใจไม่ตรงกันด้วย

                        ถ้าดูเพียงแค่สัญลักษณ์ ว่าไอ้นี่มันคือกราวน์ มันก็คือกราวน์ตามรูปสัญลักษณ์ไม่มีไรต่างกัน แต่ถ้าดูพฤติกรรมดูประสิทธิภาพการทำงานของมันถึงจะเห็นความต่างที่ชัดเจน

                        GNDของจริง มันไม่มีข้อจำกัดไร สามารถเอาไปใช้ร่วมหรืออ้างอิงกับวงจรขยายในจุดอื่นๆได้ทั้งหมด

                        VGมันมีข้อจำกัดมากมาย เช่น
                        - มันใช้อ้างอิงเป็น"ศักย์ไฟ0โวลท์"ได้เฉพาะกับจุดที่มันต่อร่วมอยู่เท่านั้น เอาไปอ้างอิงกับไฟจุดอื่นในวงจรร่วมจุดอื่นบางทีมันไม่ได้และอาจมีโอกาสทำให้ช๊อต...บึ้มได้ด้วย เพราะมันจะไม่ใช่"ศักย์ไฟ0โวลท์"แบบที่เคยเป็น
                        - คุณภาพประสิทธิภาพของมันถือว่าใช้แก้ขัดเท่านั้น เหมาะสำหรับโหลดที่ใช้กระแสไม่สูง พูดง่ายๆเหมาะสำหรับโหลดสำหรับงานบางประเภทเท่านั้น


                        ก่อนหน้านี้นานพอสมควร ไม่แน่ใจว่าคุณMONOLABหรือคุณdracoV เคยโพสงานDIYของเค้าตัวนึงที่ทำVG และมีอธิบายว่าเวลาเอาไปใช้ร่วมกับวงจรส่วนอื่นๆในกล่องเดียวกัน ต้องระวังให้ดีเพราะอาจทำให้เครื่องเจ๊งได้ เพราะเรื่องศักย์ไฟ0โวลท์ที่ไม่ใช่ของจริงนี่แหล่ะ

                        -------------------------------------

                        Originally posted by tiger X-fi
                        ยังงอยู่ดีครับพี่
                        อย่าง ac line filter ตัวมันไม่มี ground
                        เลยใช้ C มาทำ Virtual ground เพื่อไปต่อ earth ground



                        ที่ผมเข้าใจนะครับ
                        ac line filter
                        เป็น 2เฟส ไม่มีกราวน์
                        เลยต้องช้ C จำลองกราวน์ขึ้นมา (Virtual ground )เพื่อไปต่อ earth ground
                        ผมเห็นแบบนี้
                        จุดประสงค์ที่เค้าใส่C2ตัวนั้นเพิ่มเข้าไป โดยเลือกใช้ค่าCที่เหมาะสมกับfrequencyของnoise สำหรับดึงNoiseจากไฟทั้ง2เส้น ให้ไหลไปลงที่กราวน์ดิน
                        "ไม่ใช่ทำเพื่อสร้างVG" เพราะ earth ground มันมีของจริงอยู่แล้วในระบบไฟตามบ้าน

                        -------------------------------------

                        รูปนี้ หม้อแปลง2ลูกเอามาต่ออนุกรมกัน ทำให้มีCT แต่ที่ดูแปลกไปเพราะเค้าใช้ไดโอดแยกเป็น2ชุดด้วย


                        หม้อแปลงลูกเดียวแบบมีCT ก็ใช้ไดโอด2ชุดได้
                        ถ้าใครต้องการภาคจ่ายไฟแบบจ่ายเอ้าท์พุทได้เต็มประสิทธิภาพ ก็ควรแยกไดโอดเป็น2ชุดด้วย

                        -------------------------------------

                        Voltage Divider แบบใช้C : จริงๆเค้าไม่ได้ใช้ค่าCมาทำนะ แต่มันเกิดจากค่าRที่แฝงอยู่ในตัวC เป็นตัวแบ่งแรงดัน
                        แต่ทว่าเวลาใช้งานจริง ค่าRภายในตัวC มันเปลี่ยนแปลงไปตามจังหวะการชาร์ท/ดิสชาร์ทของตัวCด้วย ทำให้ได้ประสิทธิภาพที่ไม่คงที่
                        ( พูดง่ายๆ ตามทฤษฎีมันทำได้ แต่ในทางปฏิบัติใช้งานจริง มันไม่ผ่าน )

                        พิสูจน์ได้ง่ายๆ เอาCที่ค่าเท่ากัน(ให้ใช้มิเตอร์วัดค่าด้วย) ของ Cยี่ห้อเดียวกันแต่เป็นคนละรุ่น หรือ คนละยี่ห้อ : เอามาต่อเป็นVolage Divider แล้วลองวัดVดูว่ามันได้เท่ากันหรือเปล่า

                        ผมว่า เอาCมาทำVG มันก็หนีไม่พ้นเรื่องเดียวกับVoltage Dividerนะ

                        ถ้าใช้RทำVGหรือทำVoltage Divider นอกจากเน้นเรื่องค่าที่ต้องเป๊ะแล้ว ตัวแปรที่สำคัญที่สุด คือ ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ ควรให้มีค่าppmต่ำที่สุด
                        Last edited by keang; 9 May 2014, 14:17:39.

                        Comment


                        • 5555+
                          VG แบบ บึ้ม..แน่


                          Originally posted by keang View Post

                          รูปนี้ หม้อแปลง2ลูกเอามาต่ออนุกรมกัน ทำให้มีCT แต่ที่ดูแปลกไปเพราะเค้าใช้ไดโอดแยกเป็น2ชุดด้วย

                          ผมมองว่าเป็น อนุกรมไฟ DC
                          จุดที่ไฟDCอนุกรมกัน เป็น 0v
                          ผมเลยมองว่าเป็นครับ VG ครับ
                          Last edited by tiger X-fi; 9 May 2014, 14:12:11.

                          Comment


                          • Originally posted by tiger X-fi
                            VG แบบ บึ้ม..แน่
                            แถมให้อีกแบบ
                            ใช้วงจรข้างบนของคุณเสือเลย เป็นเครื่องปรี+แอมป์ ในกล่องเดียวกัน
                            หม้อแปลงมีขดเดียว ต่อกับบริดจ์ไดโอด ได้ไฟเอ้าท์พุท+50V
                            - แอมป์ ใช้ไฟ+50V
                            - ปรีออปแอมป์ ใช้ไฟ +/- 12.5V

                            จากรูปของคุณเสือ เพิ่มบริดจ์ไดโอดเป็น2ตัว เพื่อแยกให้ได้ไฟเป็น2ชุด
                            1. บริดจ์ไดโอด > C > แอมป์ = +50V
                            2. บริดจ์ไดโอด > C3,C4ทำVG > ปรี = +/- 12.5V
                            พอต่อปรีกับแอมป์เสร็จ ก็ต่อไฟให้เลย คิดว่า ผลมันจะเป็นงัย
                            Last edited by keang; 9 May 2014, 14:34:22.

                            Comment



                            • Voltage Divider แบบใช้C :
                              ผมมองว่าไม่ได้ใช้ค่า R แฝง ครับ แต่ใช้ค่า Cมากกว่า
                              เพราะกลับกันกับ R เลย

                              Comment


                              • เห็นจุดสังเกตุที่คุณเสือบอกละ ดูจากสัดส่วนค่าของตัวอะหลั่ย

                                อันนี้ต้องบอกตามตรง...ไม่รู้เหมือนกัน เพราะส่วนใหญ่ที่เรียนมากับที่เห็นมา VDมีแต่ใช้Rทั้งนั้น ไม่เคยมีประสบการณ์กับแบบใช้Cเลย
                                ส่วนเรื่องVG ผมเพิ่งมาเห็นครั้งแรกก็ในแอมป์หูฟังแบบพกพานี่แหล่ะ
                                Last edited by keang; 9 May 2014, 14:45:12.

                                Comment

                                Working...
                                X