Originally posted by nut_kkk
View Post
Announcement
Collapse
No announcement yet.
โมให้ดีกันเยอะแล้ว มาม๊ะ....มาโมให้"เจ๊ง"กันดีกว่า
Collapse
X
-
ค้นจนได้รูปใหญ่กว่าเดิม เห็นรายละเอียดมากขึ้น
- ถ้าดูไม่ผิด จะเห็นออปแอมป์2ตัวที่ใส่ซ็อคเกทมาให้
- ครีเอทีพเปลี่ยนมาใช้ตัวเก็บประจุ Aluminum Electrolytic Capacitor แบบ Chip Type เพื่อลดขนาดของการ์ดให้เล็กลง
* ใส่ซ็อคเกทไอซี + ใช้ตัวเก็บประจุแบบเดียวกัน เมื่อเป็นแบบนี้Auzenจะเหลือจุดขายไรละ *Last edited by keang; 12 Feb 2010, 12:28:43.
Comment
-
MODIFYเวอชั่นสุดโหดของจริง
- ทำภาคจ่ายไฟใหม่เลย
- ใส่หม้อแปลงในเคสคอม
- แยกภาคขยายสัญญาณเสียงไปไว้ที่บอร์ดใหม่
--------------------------------------------
ใครจะเชื่อว่านี่คือ Onkyo Wavio SE-90 เล่นซะไม่เหลือสภาพเดิมเลย
อะหลั่ยรวมมิตรจริงๆ Frago, Philips, Nippon Chemi-Con, Sprague ATOM, Sanyo OSCON แปะซิ้งทองแดงอีกต่างหาก
--------------------------------------------
ลายทองแดงของPCBให้เสียงไม่ถูกใจ ลอกทิ้งแล้วเดินลายเองดีกว่า
Last edited by keang; 18 Jul 2010, 08:36:21.
Comment
-
จึ๋ยยยยย เข้าใจผิดแล้วครับ ไม่ใช่ผมทำ แต่ไปเห็นในเวปต่างประเทศมา เลยเอามาให้ดู จะได้เห็นว่า คนที่ทำกันแบบโหดๆ เค้าทำกันโหดแค่ไหน
ที่ผมทำก็แค่ลอกลายทองแดงในPCBออก แล้วไวร์ริ่งสายใหม่ เจาะใส่RCA ทำสายสัญญาณในเคสใหม่ ทำซัพพลายคอมใหม่
แต่ยังไม่เคยคิดจะโหดขนาดเอาหม้อแปลงยัดใส่เคส เพราะถ้าจะทำ คงแยกซัพพลายใส่กล่องไว้ข้างเคส จะสะดวกกว่าเยอะ
Originally posted by Imdexterผมเห็นหม้อแปลงนั่นไกล้ๆกับการ์ดจอ
สนามแม่เหล็กมันไม่ส่งผลกระทบกับการ์ดจอหรืออุปกรณ์อื่นๆเลยหรือครับ?
ส่วนบนล่างจะมีโลหะปิดอยู่ จะช่วยให้น้อยลงกว่าเดิมอีก
Originally posted by mujaarmตัว Onkyo Wavio SE-90 คงจะคนละตัวกับที่ผมเห็นที่บ้านท่าน
แตกต่างกันมากครับ
แต่เช็คแล้ว เอฟเฟคจากฟ้าผ่า มีอะหลั่ยหลายตัวที่ต่อกับกราวน์วงจรเจ๊งไปหลายตัว แต่ที่ไม่น่าซ่อมต่อ เพราะชิบDACเจ๊งด้วย
เค้าเลยไม่ซ่อมแล้ว เค้าทิ้งการ์ดไว้ให้ผมทำไรเล่น
ตัวในรูป เท่าที่ดู+เดา เหมือนเค้าใส่ของตามที่เค้ามีอะหลั่ยเก็บไว้ เพราะอะหลั่ยที่เค้าเปลี่ยน แต่ละตัวเสียงมันไปกันคนละแนวเลย
และเหมือนเค้าจะใส่อะหลั่ยแบบไม่สนใจเรื่องเอฟเฟคย้อนกลับในตัววงจรด้วย
ใส่แบบนั้นหาเคสใช้งานยากแน่ นอกจากเค้าจะใช้เมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีPCI Slotเยอะๆ หรือ ทั้งเครื่องมีแค่การ์ดจออย่างเดียวLast edited by keang; 13 Feb 2010, 23:55:55.
Comment
-
ใครที่คิดว่า "ตัวเก็บประจุ Aluminum Electrolytic Capacitor แบบChip Type" แบบที่ยี่ห้อAuzenใช้อยู่เป็นของดี
ดีกว่าElectrolytic Capacitorแบบปรกติแต่เกรดสูง ก็ลองดูภาพนี้แล้วคิดต่อเอาเอง
รูปการ์ด Auzen X-Fi Prelude สภาพเดิมๆ
รูปการ์ด Auzen X-Fi Prelude สภาพโละตัวเก็บประจุของเดิมทิ้งเกือบทั้งการ์ด
เค้าถอดของเดิมออกเกือบจะทั้งการ์ด แล้วใส่แบบปรกติแต่เกรดสูงแทน
Aluminum Electrolytic CapacitorแบบChip Type ในจุดที่เป็นภาคจ่ายไฟก็เปลี่ยนไปใช้รุ่นที่เกรดสูงกว่า และเป็นของยี่ห้ออื่นด้วยLast edited by keang; 12 Sep 2010, 17:11:34.
Comment
-
Originally posted by keang View Postใครที่คิดว่า "ตัวเก็บประจุ Aluminum Electrolytic Capacitor แบบChip Type" แบบที่ยี่ห้อAuzenใช้อยู่เป็นของดี
ดีกว่าElectrolytic Capacitorแบบปรกติแต่เกรดสูง ก็ลองดูภาพนี้แล้วคิดต่อเอาเอง
รูปการ์ด Auzen X-Fi Prelude ในแบบโละตัวเก็บประจุของเดิมทิ้งเกือบทั้งการ์ด
[ATTACH]658592[/ATTACH]
เค้าถอดของเดิมออกเกือบจะทั้งการ์ด แล้วใส่แบบปรกติแต่เกรดสูงแทน
Aluminum Electrolytic CapacitorแบบChip Type ในจุดที่เป็นภาคจ่ายไฟก็เปลี่ยนไปใช้รุ่นที่เกรดสูงกว่า และเป็นของยี่ห้ออื่นด้วย
อย่างที่คุยกันครับ คนที่คิดว่าตัวเก็บประจุ Aluminum Electrolytic Capacitor ดีกว่าElectrolytic Capacitorแบบปรกติแต่เกรดสูง ไปไม่ถูกทาง Wrong Direction ครับ
Comment
-
ไม่ถึงขั้นนั้นครับ
อะหลั่ยอิเลตทรอนิคส์แต่ละแบบ เค้าออกแบบมาสำหรับงานแต่ละประเภท
ถ้าเราเลือกใช้ให้เหมาะสม ก็จะได้ประสิทธิภาพตามที่ผู้ผลิตออกแบบไว้
ซาวน์การ์ดนับวันก็จะใส่ฟีเจอร์เพิ่มเข้าไปมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ขนาดของการ์ดไม่สามารถขยายใหญ่กว่าเดิมได้
ทำให้ต้องใช้อะหลั่ยที่มีขนาดเล็กกว่าอะหลั่ยปรกติ เช่น Aluminum Electrolytic Capacitor แบบChip Type
ถ้าเป็นรุ่นที่ผู้ผลิตพิถีพิถันหน่อย
- ภาคจ่ายไฟจะใช้ตัวเก็บประจุแบบ Solid Aluminum Electrolytic Capacitor แบบChip Type
- สัญญาณดิจิตอล จะเลือกใช้ตัวเก็บประจุแบบ Polymer Aluminum Capacitors แบบChip Type
- สัญญาณเสียง(อนาลอค) จะเลือกใช้ตัวเก็บประจุไม่มีขั้ว(non-polar)แบบฟิลม์
นอกนั้นก็ใช้ Aluminum Electrolytic Capacitor แบบChip Type เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต
ถ้าใครสังเกตุทิศทางการออกซาวน์การ์ดรุ่นใหญ่รุ่นใหม่ของหลายๆยี่ห้อ จะเริ่มเห็นแล้วว่า เค้าจะแยกเป็น2การ์ด
2แชนแนล+ดิจิตอลอิน+ดิจิตอลเอ้าจะอยู่ที่การ์ดหลัก แชนแนลที่เหลือจะแยกไปอยู่ที่การ์ดเสริมLast edited by keang; 17 Jul 2010, 13:49:50.
Comment
-
ตัวเก็บประจุค่า"มาก" ทำงานที่ความถี่"ต่ำ"ได้ดี ด้อยที่ความถี่"สูง"
ตัวเก็บประจุค่า"น้อย "ทำงานที่ความถี่"สูง"ได้ดี ด้อยที่ความถี่"ต่ำ"
ถ้าต้องการปรับปรุงคุณภาพให้ตัวเก็บประจุทำงานกับความถี่ได้ช่วงกว้างขึ้น
ก็ต้องหาตัวเก็บประจุค่าอื่นมาต่อขนานเพิ่มเข้าไป (bi-cap, tri-cap)
คนนี้เค้าคงชอบสไตล์เสียงของnichicon อยากให้ทำงานได้ดีในทุกๆช่วงความถี่
รูปตัวเก็บประจุทำหน้าที่ฟิลเตอร์ภาคจ่ายไฟ สำหรับแอมปหูฟัง
ใช้ OPA637BP 4ตัว ทำหน้าที่ CCS (Constant Current Source) ควบคุมกระแสไฟ
ไล่ค่าเป็นช่วงๆ 4700 / 1000 / 470 / 220 / 22 / 1 / 0.1 ไมโครฟารัด
ใครอยากรู้ว่า "CCS (Constant Current Source)" คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ก็ลองไปดูที่นี่ WikipediaLast edited by keang; 17 Jul 2010, 13:53:02.
Comment
-
Originally posted by WizardmansOriginally posted by keangอันนี้ยังบอกแบบชัวร์ๆไม่ได้ เพราะ ต้องรอให้ทุกอย่างเข้าที่ แล้วฟังดูอีกทีว่า เสียงที่ได้เป็นงัยบ้าง
เสียงตรงไหนขาด ตรงไหนเกิน ตรงไหนพอดีแล้ว
แล้วค่อยมาตัดสินใจเลือกยี่ห้อ เลือกรุ่นของยี่ห้อนั้นๆ มาใช้เพื่อปรับแต่งเสียงให้โดยรวมตรงตามต้องการ
แต่โดยปรกติ ถ้าเลือกได้ ผมจะใช้อยู่2ยี่ห้อ sprague กับ mallory แต่ถ้า2ยี่ห้อนี้ผมไม่มีค่าตรง ก็ค่อยไปหายี่ห้ออื่นมาทดแทน
Opa2111KP Opa2107AP Opa2132P Opa2132PA Opa2134pa LM4562NA
Opa2277P Opa827
Comment
Comment