Announcement

Collapse
No announcement yet.

โมให้ดีกันเยอะแล้ว มาม๊ะ....มาโมให้"เจ๊ง"กันดีกว่า

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • ถ้าตามที่ได้คุยกันคือบวกจุดบานปลายแล้วไม่เกิน4000 ก็ลงมือไปเลยครับ
    กลางกับแหลมที่ผมพอใจคือความสมดุลของปริมานเสียงครับ ถ้าเปลี่ยนอะหลั่ยแล้วมันช่วยเรื่องเนื้อที่ดี รายละเอียดดีขึ่นไปอีกก็ไม่มีปัญหาครับ
    Cตัวที่ว่ามีคราบดำๆนี่ตรงจุดแถวไหนครับ

    Comment


    • Originally posted by keang View Post
      บ้านเราทำกันเยอะ
      แต่มันเป็นแค่คล็อค สปีดได้คงที่ไม่แปรเปลี่ยนตามอุณหภูมิรอบข้าง แค่นั้นเอง
      เปลี่ยนเป็นอย่างดีขึ้น ไม่ช่วยเรื่อง jitter เหรอครับ
      อ่าน ที่ headfi แล้วยังงงๆ อยู่

      ----------------------
      ลองคิดเล่นๆ
      มีปัญหาเวลา ต่อ cคร่อม เพื่อกรองความถี่

      รูปซ้าย ต่อ c ตัวเดียว วงจรแบบอันบาลานซ์ ใช้paintวาดมั่ว

      คิดไปคิดมาแบบจำสูตรคำนวณไม่ได้แล้ว
      เนื่องจาก ความต้านของc มันน้อย กว่า เยอะมาก ทำให้กระแส ส่วนใหญ่ไหลไปทางc

      ถ้าเราเอา r ไปต่อเพิ่ม นี้จะช่วยลดeffect นี้ได้มั้ย ความต้านทานทางนี้เพิ่ม กระแสที่ไหลมาทางc ก็น้อยลง
      อาจจะมีeffect เรื่อง การกรองความถี่เปลี่ยนไปมั้ย? แต่ ความต้าน ร่วมน่าจะเปลี่ยนอยู่ดี
      อาจจะกลายเป็นการเพิ่มปริมาณ Rร่วม ให้แหล่งจ่ายทำงานหนักขึ้นบ้าง ถ้ายังต้องการปรับเสียงดังเท่าเดิม
      (แต่ต่อแบบขนานถ้าใช้ ค่าไม่มาก ก็ไม่น่าจะเพิ่มมากมั้ง) มีside effect อะไรอีกรึเปล่าหว่า??

      คิดแบบมั่วมากๆ ผิดบอกด้วย

      ยังไม่ได้ทดลอง พักมืออยู่ ตอนทำฟร้อนท์ นี้มือสั่นมากๆ = =:

      -----------------------------------------
      เปลี่ยนเรื่องนิด อ่านหลายรอบแหล่ะ แต่ยังไม่เข้าใจทั้งหมดสักที
      wiki
      Ripple current
      Ripple current is the AC component of an applied source (often a switched-mode power supply) whose frequency may be constant or varying. Certain types of capacitors, such as electrolytic tantalum capacitors, usually have a rating for maximum ripple current (both in frequency and magnitude). This ripple current can cause damaging heat to be generated within the capacitor due to the current flow across resistive imperfections in the materials used within the capacitor, more commonly referred to as equivalent series resistance (ESR). For example electrolytic tantalum capacitors are limited by ripple current and generally have the highest ESR ratings in the capacitor family, while ceramic capacitors generally have no ripple current limitation and have some of the lowest ESR ratings.

      Power conditioning


      Reservoir capacitors are used in power supplies where they smooth the output of a full or half wave rectifier. They can also be used in charge pump circuits as the energy storage element in the generation of higher voltages than the input voltage.
      Capacitors are connected in parallel with the power circuits of most electronic devices and larger systems (such as factories) to shunt away and conceal current fluctuations from the primary power source to provide a "clean" power supply for signal or control circuits. Audio equipment, for example, uses several capacitors in this way, to shunt away power line hum before it gets into the signal circuitry. The capacitors act as a local reserve for the DC power source, and bypass AC currents from the power supply. This is used in car audio applications, when a stiffening capacitor compensates for the inductance and resistance of the leads to the lead-acid car battery.
      reservoir capacitor
      From Wikipedia, the free encyclopedia

      This article does not cite any references or sources.
      Please help improve this article by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed. (December 2009)
      A reservoir capacitor is a capacitor that is used to smooth the pulsating DC from an AC rectifier.

      [edit]Performance with low impedance source


      The above diagram shows reservoir performance from a near zero impedance source, such as a mains supply. As the rectifier voltage increases, it charges the capacitor and also supplies current to the load. At the end of the quarter cycle, the capacitor is charged to its peak value Vm of the rectifier voltage. Following this, the rectifier voltage starts to decrease as it enters the next quarter cycle. This initiates the discharge of the capacitor through the load.
      Capacitive coupling
      From Wikipedia, the free encyclopedia
      In electronics, capacitive coupling is the transfer of energy within an electrical network by means of the capacitance between circuit nodes. This coupling can have an intentional or accidental effect. Capacitive coupling is typically achieved by placing a capacitor in series with the signal to be coupled.
      Contents [hide]


      In analog circuits, a coupling capacitor is used to connect two circuits such that only the AC signal from the first circuit can pass through to the next while DC is blocked. This technique helps to isolate the DC bias settings of the two coupled circuits. Capacitive coupling is also known as AC coupling and the capacitor used for the purpose is known as a coupling or DC blocking capacitor. Capacitive coupling has the disadvantage of degrading the low frequency performance of a system containing capacitively coupled units. Each coupling capacitor along with the input electrical impedance of the next stage forms a high-pass filter and each successive filter results in a cumulative filter with a -3dB frequency that may be higher than each individual filter. So for adequate low frequency response the capacitors used must have high capacitance ratings. They should be high enough that the reactance of each is at most a tenth of the input impedance of each stage, at the lowest frequency of interest. This disadvantage of capacitively coupling DC biased, transistor amplifier circuits is largely minimized in directly coupled designs.
      [edit]Use in digital circuits

      AC coupling is also widely used in digital circuits to transmit digital signal with a zero DC component, known as DC-balanced signals. DC-balanced waveforms are useful in communications systems, since they can be used over AC-coupled electrical connections to avoid voltage imbalance problems and charge accumulation between connected systems or components.
      For this reason, most modern line codes are designed to produce DC-balanced waveforms. The most common classes of DC-balanced line codes are constant-weight codes and paired-disparity codes.
      [edit]Gimmick

      A "gimmick" is a very simple kind of capacitive coupling: a piece of wire that is placed in proximity to another one, providing a capacitive coupling between two nodes of a few picofarads in value. Sometimes the wires are twisted together for physical stability.[1][2]
      [edit]Parasitic capacitive coupling

      Capacitive coupling is often unintended, such as the capacitance between two wires or PCB traces that are next to each other. Often one signal can capacitively couple with another and cause what appears to be noise. To reduce coupling, wires or traces are often separated as much as possible, or ground lines or ground planes are run in between signals that might affect each other. Breadboards are particularly prone to these issues due to the long pieces of metal that line every row creating a several-picofarad capacitor between lines. To prototype high-frequency (10s of MHz) or high-gain analog circuits, often the circuits are built over a ground plane so that the signals couple to ground more than to each other. If a high-gain amplifier's output capacitively couples to its input it often becomes an electronic oscillator.
      Decoupling capacitor
      From Wikipedia, the free encyclopedia
      A decoupling capacitor is a capacitor used to decouple one part of an electrical network (circuit) from another. Noise caused by other circuit elements is shunted through the capacitor, reducing the effect they have on the rest of the circuit.
      For example, because the voltage level for a device is fixed, changing power demands are manifested as changing current demand. The power-supply must accommodate these variations in current draw with as little change as possible in the power-supply voltage. When the current draw in a device changes, the power-supply cannot respond to that change instantaneously. As a consequence, the voltage at the device changes for a brief period before the power-supply responds. The voltage regulator adjusts the amount of current it is supplying to keep the output voltage constant but can only effectively maintain the output voltage for events at frequencies from DC to a few hundred kHz, depending on the regulator (some are effective at regulating in the low MHz). For transient events that occur at frequencies above this range, there is a time lag before the voltage regulator responds to the new current demand level.
      This is where the decoupling capacitor comes in. The decoupling capacitor works as the device’s local energy storage. The capacitor cannot provide DC power because it stores only a small amount of energy but this energy can respond very quickly to changing current demands. The capacitors effectively maintain power-supply voltage at frequencies from hundreds of kHz to hundreds of MHz (in the milliseconds to nanoseconds range). Decoupling capacitors are not useful for events occurring above or below this range.
      An alternative name is bypass capacitor as it is used to bypass the power supply or other high impedance component of a circuit.
      Contents [hide]


      One common kind of decoupling is of a powered circuit from signals in the power supply. Sometimes, for various reasons, a power supply supplies an AC signal superimposed on the DC power line. Such a signal is often undesirable in the powered circuit. A decoupling capacitor can prevent the powered circuit from seeing that signal, thus decoupling it from that aspect of the power supply circuit.
      Another kind of decoupling is stopping a portion of a circuit from being affected by switching that happens in another portion. Switching in subcircuit A may cause fluctuations in the power supply or other electrical lines, but you do not want subcircuit B, which has nothing to do with that switching, to be affected. A decoupling capacitor can decouple subcircuits A and B so that B doesn't see any effects of the switching.
      To decouple a subcircuit from AC signals or voltage spikes on a power supply or other line, a bypass capacitor is often used. A bypass capacitor is to shunt energy from those signals or transients past the subcircuit to be decoupled, right to the return path. For a power supply line, a bypass capacitor from the supply voltage line to the power supply return (neutral) would be used. Doctor Gerald Merckel was a leading researcher in bypass capacitors within AC circuits and power lines.
      High frequencies and transient currents flow through a capacitor, in this case in preference to the harder path through the decoupled circuit, but DC cannot go through the capacitor, so continues on to the decoupled circuit.
      Signal processing
      The energy stored in a capacitor can be used to represent information, either in binary form, as in DRAMs, or in analogue form, as in analog sampled filters and CCDs. Capacitors can be used in analog circuits as components of integrators or more complex filters and in negative feedback loop stabilization. Signal processing circuits also use capacitors to integrate a current signal.
      -----------
      ไปยืนอ่านหนังสือมา สไตล์คนยาก

      เห็นบางวงจรrectifier+filter เขาทำc farm หลังไดโอด เป็นสิบตัวเลย งงๆ มันดียังไงหว่า
      แถมมีc ค่า0.1 ต่อคร่อมไดโอดทุกตัวอีก
      Last edited by ManiacMaew; 15 Oct 2010, 00:09:45.

      Comment


      • Originally posted by ManiacMaew View Post

        รูปซ้าย ต่อ c ตัวเดียว วงจรแบบอันบาลานซ์ ใช้paintวาดมั่ว

        คิดไปคิดมาแบบจำสูตรคำนวณไม่ได้แล้ว
        เนื่องจาก ความต้านของc มันน้อย กว่า เยอะมาก ทำให้กระแส ส่วนใหญ่ไหลไปทางc

        ถ้าเราเอา r ไปต่อเพิ่ม นี้จะช่วยลดeffect นี้ได้มั้ย ความต้านทานทางนี้เพิ่ม กระแสที่ไหลมาทางc ก็น้อยลง
        อาจจะมีeffect เรื่อง การกรองความถี่เปลี่ยนไปมั้ย? แต่ ความต้าน ร่วมน่าจะเปลี่ยนอยู่ดี
        อาจจะกลายเป็นการเพิ่มปริมาณ Rร่วม ให้แหล่งจ่ายทำงานหนักขึ้นบ้าง ถ้ายังต้องการปรับเสียงดังเท่าเดิม
        (แต่ต่อแบบขนานถ้าใช้ ค่าไม่มาก ก็ไม่น่าจะเพิ่มมากมั้ง) มีside effect อะไรอีกรึเปล่าหว่า??

        คิดแบบมั่วมากๆ ผิดบอกด้วย

        ยังไม่ได้ทดลอง พักมืออยู่ ตอนทำฟร้อนท์ นี้มือสั่นมากๆ = =:
        น่าคิดครับ แต่ผมว่า หากภาคจ่ายไฟทำงานหนักขึ้นเพื่อแค่ขับ r ตัวเดียว กับลด noise ออกไป ผมว่าภาคจ่ายไฟคงไม่มีผลกระทบมาก หรอกครับ เพราะผลมันค่อนข้างดีอยู๋แล้ว

        Comment


        • ต่อแบบ อนุกรมสิครับ แบบ c3 กับ R3

          Comment


          • Originally posted by fenderfree View Post
            ต่อแบบ อนุกรมสิครับ แบบ c3 กับ R3
            งงครับ ในคอนเซปต์ที่ผมคิดคือ
            เอา r+cอนุกรมกันแล้ว ต่อขนานกับระบบอีกที เพื่อ เพิ่มแรงต้านทานในเส้นที่ต่อc ไว้


            ถ้าต่อแยก r กับ c แล้วยังมี r loadอีก
            กระแสมันน่าจะไหลไปทางcมากสุดเพราะ ค่าความต้านทานมากสุด

            ทั้งหมดนี้มั่วน่ะครับ ดูวงจรที่ท่านให้มา ก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ ทำไมถึงมีการต่อc และ r จำนวนมาก ต่อกันขนาดนั้นก่อนเขาic

            (ยังไม่ค่อยเข้าใจเรื่องวงจรเท่าไร เหมือนต่อแบบไหนแล้วไปอยู่ตรงไหนของวงจรมันก็ให้ผลต่างกันอีก)

            ในความคิดผมมันจะคล้ายกับตรง r4 กับ c4มากกว่า
            r loadที่ผมเขียนไว้นี้ นี้หมายถึง ค่าโอห์มของลำโพงน่ะ

            แต่ที่ผมเคยทำกับcontrollerมัน ฝั่งinput เลย คิดกันคนละแบบมั้ง งงๆ
            ที่ทำกับfront มันเอาพุ้ตแหล่ะ เพราะออกไปก็เจอ หูฟังเลย

            อันนี้ยังไม่ได้พูดการต่อคร่อม หลังไดโอด ที่เป็น filter capcitorที่ภาคจ่ายไฟน่ะ
            กำลังงง ทำไม ต่อขนานเหมือนกันให้ผลต่างกัน
            (อันนี้เดามั่วอีกว่าที่ภาคจ่ายไฟต่อจนานได้เพราะกระแสมันมาแบบdc(แต่ยังไม่เรียบ) แต่ภาคสัญญาณมันมาแบบ
            waveform เลยคิดต่างกัน)


            มั่วทั้งนั้นครับพี่น้อง ยิ่งอ่านยิ่งมึน

            Comment


            • แล้วผมจะรู้เรื่องกับเค้าบ้างมั๊ยนี่...555+

              Comment


              • เหอๆๆ ผมขออภัยด้วยครับด้วยความรู้อันน้อยนิดของผมทำให้งงไปใหญ่ ผมจะให้ดูแค่ที่วงใว้เนื่องจากวาดรูปไม่เป็น
                C3 กับ R3 ต่อแบบขนานกันใว้ เพื่อให้ โหลดไปที่วงจรมากกว่า แต่อันนี้ เป็นวงจรอินพุท ไม่ใช่ภาคจ่ายไฟ(ที่ผมวงใว้)
                กระแสคงไม่ไหลไป C มากสุด เนื่องจากมันมีความต้านทานมากสุดกระแสจะไหลผ่านได้น้อยกว่า
                นั่งอ่านเฉยๆแบบเดิมดีกว่าไปล่ะ ฟิ้ววว-*-a

                Comment


                • Originally posted by keang
                  เมื่อกี้เอาการ์ดไปถอดอะหลั่ย เห็นCตัวนึง สภาพแปลกๆมีคราบดำจากข้างในตัวC แต่ตัวอื่นปรกติ
                  Originally posted by choochart.
                  Cตัวที่ว่ามีคราบดำๆนี่ตรงจุดแถวไหนครับ

                  แอบใช้รูปจากในเนท เวปไหนก็จำไม่ได้แล้ว



                  ตัวซ้ายคือตัวที่มีปัญหา เป็นอะหลั่ยของเอ้าพุทแบบRCAแชนแนลซ้าย / ตัวขวาคือตัวCสภาพปรกติ
                  สังเกตุดีๆจะเห็นมีคราบสีดำอยู่ภายในตัวC คราบดำนี้เห็นได้จากทั้ง2ด้านของตัวC
                  ลองวัดค่าดุแล้วค่าเพี้ยนไปมาก(เหมือนCมีการช็อทภายใน) และที่สำคัญคือบ้านเรามีCยี่ห้อนี้ขายแต่ไม่มีค่านี้



                  รื้ออะหลั่ย ทำความสะอาดการ์ดด้วยแอลกอฮอร์เป็นครั้งแรก
                  ถอดอะหลั่ยออกเกือบหมด เพราะ จะได้ทำความสะอาดได้ทั่วถึงทุกซอกทุกมุม
                  แต่เวลาใส่อะหลั่ยกลับคืน จะเป็นแบบนี้ บางจุดใส่อะหลั่ยตัวเดิมกลับคืนที่เก่า บางจุดเปลี่ยนอะหลั่ยตัวใหม่ บางจุดยกเลิกการใช้อะหลั่ยที่ผู้ผลิตใส่มาในตัววงจร


                  Originally posted by choochart.
                  ถ้าตามที่ได้คุยกันคือบวกจุดบานปลายแล้วไม่เกิน4000 ก็ลงมือไปเลยครับ
                  กลางกับแหลมที่ผมพอใจคือความสมดุลของปริมานเสียงครับ ถ้าเปลี่ยนอะหลั่ยแล้วมันช่วยเรื่องเนื้อที่ดี รายละเอียดดีขึ่นไปอีกก็ไม่มีปัญหาครับ
                  คอนโทรลปริมาณเสียง ถ้าเราสามารถเลือกและหาอะหลั่ยได้ตามที่ต้องการครบทุกตัว ก็ไม่ใช่เรื่องยาก

                  แต่ถ้าเราไม่สามารถเลือกอะหลั่ยได้ตามต้องการครบทุกตัว เรื่องแบบนี้ก็ไม่ง่ายแล้ว
                  เพราะ ไม่ใช่ทำแค่จุดเดียวแต่ต้องทำหลายๆจุดเพื่อชดเชยซึ่งกันและกัน
                  แม้แต่ตัวEARTHเองก็ไม่ได้มีความสมดุลในทุกช่วงความถี่ เช่นเดียวกับออปแอมป์เบอร์อื่นๆ

                  ถ้าจะเอาชัวร์ต้องทำเกือบทั้งการ์ด ตั้งแต่ ชุดไฟเลี้ยงการ์ด, ชุดไฟเลี้ยงOP-Amp, DAC, OP-Amp
                  และที่สำคัญคือ นอกจากเรื่องค่าใช้จ่ายแล้ว ยังมีเรื่องระยะเวลา
                  เพราะ ทำทั้งการ์ดใช้เวลาเกิน10วันแน่นอน ซึ่งเจ้าของการ์ดบอกอยากให้เสร็จภายใน3-4วัน

                  ตรงนี้แหล่ะ คือ สาเหตุที่ทำให้มีการบานปลายเกิดขึ้น
                  Last edited by keang; 15 Oct 2010, 04:07:33.

                  Comment


                  • Originally posted by ManiacMaew
                    เปลี่ยนเป็นอย่างดีขึ้น ไม่ช่วยเรื่อง jitter เหรอครับ
                    อ่าน ที่ headfi แล้วยังงงๆ อยู่
                    ลองหาข้อมูลเรื่องการทำงานของCrystal จะเข้าใจได้ดีขึ้น
                    เปลี่ยนคริสตัล แต่ไม่เปลี่ยนR, Cที่ต่อร่วมในวงจรClock แต่ใช้ไฟเลี้ยงCrystalชุดเดียวกับวงจรส่วนอื่น
                    สัญญาณนาฬิกาที่ถูกสร้างขึ้นมาก็ยังมีโอกาสเพี้ยนได้ในบางช่วงเสี้ยววินาที

                    คริสตัลจะเหมือนอะหลั่ยชนิดอื่นๆ คือ ค่าที่ได้จากตัวมันจะมีโอกาสคลาดเคลื่อนเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
                    สเปคค่าความเคลื่อนทางอุณหภูมิ มีหน่วยเป็นppm (part per million = 1ส่วนต่อล้านส่วน)
                    คริสตัลที่ผู้ผลิตใส่มาในการ์ด ส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วง 25-50ppm

                    สมมุติว่า ในช่วงเสี้ยววินาที สัญญาณนาฬิกามีความคลาดเคลื่อนไป 1/100เมกกะเฮิรช์ ต่อ 1นาที
                    คิดว่าฟังกันออกหรือเปล่า ว่า สปีดมันเร็วขึ้นหรือช้าลง 1/100เมกกะเฮิร์ช ต่อ 1นาที ???
                    ตัวอย่าง
                    แหม๋ แหม๋ มือกลองท่าทางจะมันส์ไปหน่อย ตีกลองเร็วกว่ามาตราฐานไป 2/100เมกกะเฮิร์ช ต่อ 1นาที
                    แหม๋ แหม๋ นักร้องโชว์พลังปอด เล่นลูกคอซะยาวเกินไป 2/100เมกกะเฮิร์ช ต่อ 1นาที


                    เอาแบบซีเรียสๆน่ะ
                    ถ้าจะแก้JITTERจริงๆ ต้องไปทำClockใหม่และรักษาระดับอุณหภูมิให้คงที่ตลอดเวลา + แยกภาคจ่ายไฟเฉพาะต่างหาก เพื่อไม่ให้ย้อนกลับเข้าไปกวนระบบไฟเลี้ยงของวงจรanalog + ระบบกราวน์ของdigitalกับanalogต้องแยกจากกัน
                    ต้องมีลายทองแดงหรือสายไฟไปจ่ายให้DACแบบสั้นที่สุด ตลอดเส้นทางนั้นห้ามได้รับสัญญาณรบกวนด้วย

                    เพื่อไม่ให้เกิดJIITER เครื่องต้นทาง(Transport) เครื่องปลายทาง(Decoder) ต้องมีClockที่ตรงกันเป๊ะๆ ห้ามคลาดเคลื่อนเลย
                    ต้องตรงต้องเท่ากันแบบทศนิยม10ตำแหน่ง20ตำแหน่ง

                    ทฤษฏีน่ะมันง่ายเพราะมันแค่คิด แต่ในทางปฏิบัติมันมีตัวแปรเกิดขึ้นมากมาย เกิดขึ้นตลอดเวลา มีโอกาสเกิดความผิดพลาดเกิดความคลาดเคลื่อนได้ทุกๆเสี้ยวของเสี้ยวของเสี้ยวของเสี้ยววินาที


                    Originally posted by ManiacMaew
                    ไปยืนอ่านหนังสือมา สไตล์คนยาก

                    เห็นบางวงจรrectifier+filter เขาทำc farm หลังไดโอด เป็นสิบตัวเลย งงๆ มันดียังไงหว่า
                    แถมมีc ค่า0.1 ต่อคร่อมไดโอดทุกตัวอีก
                    ไม่มีอะไรดีหมดทุกด้าน และไม่มีอะไรเลวร้ายไปทุกด้าน
                    อยู่ที่ว่า เค้าทำอะไรเพื่อให้ได้อะไร

                    1. ถ้าเค้าต้องการการตอบสนองการจ่ายไฟได้หลากหลายแบบ ก็ต้องต่อCหลายๆค่าขนานเข้าไป
                    2. ถ้าเค้าต้องการให้มิติด้านสูง มีระดับความแตกต่างกัน+สามารถจ่ายไฟได้หลากหลายรูปแบบด้วย ก็ต้องหาวิธีต่อCหลายๆตัวแต่ต้องให้มันเสมือนเป็นตัวเดียวกัน
                    3. ถ้าเค้าคิดว่า1กับ2 มันยุ่งยากและสิ้นเปลือง ก็ต้องยอมตัดใจเลือกเอาว่าต้องการไรกันแน่ ระหว่างขนานกับไม่ขนานC


                    Originally posted by fenderfree
                    นั่งอ่านเฉยๆแบบเดิมดีกว่าไปล่ะ ฟิ้ววว-*-a
                    หนีเอาตัวรอดคนเดียวเลยท่าน

                    เพราะความอยากรู้ เลยต้องมาช่วยๆกันคิด ช่วยๆกันเดา ช่วยๆกันทดลอง ลองผิดลองถูกกันไป
                    ไม่มีไรได้มาฟรีๆโดยไม่เหนื่อย

                    R,C ที่ต่ออยู่กับขาอินพุทของออปแอมป์ เป็นการเซ็ทค่าอินพุทอิมพิแดนซ์(ความต้านทานขาเข้าของวงจรขยายเสียง)
                    เวลาเราดูสเปคแอมป์ สเปคปรีแอมป์ เค้าจะมีระบุว่า อินพุทอิมพิแดนซ์เท่าไหร่ เอ้าพุทอิมพิแดนซ์เท่าไหร่
                    ซึ่งอินพุทอิมพิแดนซ์ ก็คือค่าของR,Cตรงนี้แหล่ะครับ


                    Originally posted by tiger X-fi
                    แล้วผมจะรู้เรื่องกับเค้าบ้างมั๊ยนี่...555+
                    ผมก็ไม่รู้ว่าเค้าคุยเรื่องไรเหมือนกัน ยังจับประเด็นได้ไม่ขาดเลย
                    Last edited by keang; 15 Oct 2010, 03:53:57.

                    Comment


                    • คนทำท่าจะเหนื่อยเอาการแฮะ อิอิ แอบอ่านอยู่นานละ

                      Comment


                      • ที่สงสัยคือ ทำไมที่headfi เขาเปลี่ยน crystal แล้วบอกว่าเสียงต่าง เท่าที่อ่านมาคือให้รายละเอียดแบบstereo มากขึ้น
                        แต่แน่ล่ะ คำว่าต่างของเขามันจริงรึเปล่า? ถ้าจริงแล้วต่างกันมากมั้ย รอวันพิสูจน์
                        -----------
                        ผมก็ยังไม่รู้เลยผมพิมพ์อะไรลงไปบ้าง งง ตัวเองอยู่เหมือนกัน

                        Comment


                        • เปลี่ยน Crystal โดยทำให้อยู่ในมาตรฐาน ผมว่ายากนะ
                          มันไม่เหมือน C กับ R ถ้าเข้าใจไม่ผิดหลังติดตั้งเค้าต้องใช้เครื่องวัดซ้ำด้วย

                          แล้วเปลี่ยนด้วยตัวเองมันจะเที่ยงตรงเหรอ ?

                          Comment


                          • ขนาดนั้นเลยเรอะ !!
                            เรื่อง crystal ขอกลับไปศึกษาก่อน


                            ------
                            ขอวกกลับมาเรื่องอื่นก่อน
                            ที่ไม่ได้review db211 สักทีเพราะ แก้ขาตั้งนี้แหล่ะ

                            มันได้ทำแบบตั้งจากพื้นเหมือนตัวในกระทู้นั้นน่ะ (กระทู้นั้นใครโพสต์ว่า เจ้าของไอเดีย ลืมแหล่ะ- -.)

                            แต่ทำเพื่อยกระดับจากโต๊ะให้ใกล้หูมากขึ้น

                            รูปกับรายละเอียด ค่อยเอาลงให้ดู

                            คร่าวๆก่อน

                            rev. 1 ท่อกลวง ไม่ได้ใส่ทราย ฐานแคบ
                            rev. 2 สูงกว่าเดิมนิด เพราะท่อคนละแบบ (ความหนาที่สูงขึ้นไม่เกินไม้กระดาน1ชั้น)
                            ฐานกว้างขึ้น อีกนิด เติมทราย ไปครึ่งหลอดนิดๆ

                            rev.1 กับ rev.2 เสียงต่างน่ะ ที่ต่างไม่รู้จะต่างจาก ระดับที่สูงต่างกันนิดหนึ่งรึเปล่า


                            rev.2 นี้ focus ตำแหน่งเสียงดีกว่านิดหนึ่ง เสียงฟังดูนิ่งกว่าเดิมหน่อย


                            บอกว่านิดกับหน่อย นี้คือน้อยจริงๆ น่ะ ไม่ได้ต่างเพิ่มเท่ากับการโมส่วนอื่น

                            ยังไม่ได้ลองเทียบกับวางบนโต๊ะเดิมๆ

                            Comment


                            • เห็นอยากรู้เรื่อง วิธีเปลี่ยนCrystal หลักการเปลี่ยนคริสตัล หลักการการทำงานของวงจรClock หลักการทำงานของวงจรOscilator
                              รายละเอียดข้างล่าง จะพูดถึง ถ้าใช้"Internal Clock"จะต้องทำงัย / ถ้าใช้"External Clock"จะต้องทำงัย

                              --- อย่าลืมไปดูรายละเอียดการทำงานของCrystalด้วย ---
                              --- เพราะ"Internal Clock"และ"External Clock" ก็ใช้Crystalเป็นส่วนประกอบเหมือนกัน ---
                              --- แบบExternal Clock ส่วนใหญ่จะเลือกใช้Cyrstalที่ค่าสัมประสิทธิ์ทางอุณหภูมิต่ำกว่า ---



                              burr-Brown DIR9001 24-Bit 96kHz Digital Audio Interface Receiver

                              XTI Clock Source and Oscillation Amplifier Description
                              This clock, driven by the built-in oscillation amplifier or input into the XTI pin from an external clock, is defined as the XTI source. A 24.576-MHz fundamental resonator or external 24.576-MHz clock is used as the XTI source.

                              The DIR9001 requires an XTI source for following purposes :
                              - The measurement reference clock of actual-sampling-frequency calculator
                              - The clock source for the XTI source mode (CKSEL = H setting)
                              (That is, the DIR9001 does not require an XTI source if it is only decoding the biphase input signal.)
                              The XTI clock source is supplied in one of the following two ways; the details are described in Figure 9.
                              - Setting up an oscillation circuit by connecting a resonator with the built-in amplifier
                              - Applying a clock from an external oscillator circuit or oscillator module

                              To set up an oscillation circuit by connecting a resonator with the built-in amplifier :
                              - Connect a 24.576-MHz resonator between the XTI pin and XTO pin.
                              - The resonator should be a fundamental-mode type.
                              - A crystal resonator or ceramic resonator can be used.
                              - The load capacitor CL1, CL2, and the current-limiting resistor Rd depend on the characteristics of the resonator.
                              - No external feedback resistor between the XTI pin and XTO pin is required, as an appropriate resistor is incorporated in the device.
                              - No load other than the resonator is allowed on the XTO pin.

                              To connect an external oscillator circuit or oscillator module :
                              - Provide a 24.576-MHz clock on the XTI pin
                              - Note that the XTI pin is not 5-V tolerant; it is simple CMOS input.
                              - The XTO pin must be open.



                              Description of oscillation amplifier operation :
                              - The built-in oscillation amplifier is always working.
                              - If the XTI source clock is not used, then the XTI pin must be connected to DGND.
                              - For reducing power dissipation, it is recommended to not use the XTI source clock.
                              In XTI mode (CKSEL = H), output clocks (SCKO, BCKO, LRCKO) are generated from XTI source clock.
                              The relation between output clock frequency (SCKO, BCKO, LRCKO) and the XSCK pin setting in XTI source
                              mode is shown in Table 6.





                              DIR9001 Crystal Resonator Circuit


                              PCM2706 Crystal Resonator Circuit



                              Clock แบบ Internal หรือ External ทั้ง2แบบ ใช้Crystal, ใช้ไฟเลี้ยงCrystal, ใช้R, ใช้C เหมือนๆกัน
                              - เปลี่ยน "R" ในวงจรCrystal Resonator คิดว่าเสียงต่างมั๊ย ???
                              - เปลี่ยน "C" ในวงจรCrystal Resonator คิดว่าเสียงต่างมั๊ย ???
                              - ถ้าทำ "ฝาโลหะครอบวงจรCrystal Resonator เพื่อชีลด์" คิดว่าเสียงต่างมั๊ย ??? ผลจะเหมือนทำฝาครอบเครื่องมั๊ย ???
                              - เปลี่ยน "เบอร์ไอซีเรกกูเลเตอร์" สำหรับ จ่ายไฟเลี้ยงCrystal, จ่ายไฟเลี้ยงวงจรClock เสียงต่างมั๊ย ???
                              - เปลี่ยน "ชนิดของวงจรเรกกูเลเตอร์" สำหรับ จ่ายไฟเลี้ยงCrystal, จ่ายไฟเลี้ยงวงจรClock เสียงต่างมั๊ย ???


                              หากมองเพียงภาพหยาบๆ ไม่มองในรายละเอียด บางทีมันไม่รู้ว่าผลต่างที่เกิดขึ้น มันเกิดจากอะไรได้บ้าง
                              - Clock เที่ยงตรงแม่นยำขึ้น ควรจะได้อะไรและมีผลด้านไหนบ้าง
                              - เปลี่ยนR เปลี่ยนC เปลี่ยนรูปแบบวงจรจ่ายไฟเลี้ยง ควรจะได้อะไรและมีผลด้านไหนบ้าง
                              - ถ้ามีClock(ส่วนหนึ่งของระบบDigital)รั่วไปลงกราวน์ของระบบAnalog จะเกิดอะไรและมีผลด้านไหนบ้าง


                              มัวแต่อ่านเรื่องที่เค้าทำ ซึ่งมันคือปลายทาง แต่ไม่หาอ่านรายละเอียดการทำงานหลักของมัน
                              แบบนี้เมื่อไหร่ จะรู้เรื่อง จะเข้าใจการทำงาน ของมัน ละครับท่าน


                              Crystal


                              Crystal Module


                              Crystal Module with Voltage Regulator
                              Last edited by keang; 15 Oct 2010, 13:05:42.

                              Comment


                              • เหมือนคุย คนละประเด็น เปลี่ยน clock หรือเปลี่ยนวงจร clock

                                Clock แบบ Internal หรือ External ทั้ง2แบบ ใช้Crystal, ใช้ไฟเลี้ยงCrystal, ใช้R, ใช้C เหมือนๆกัน
                                - เปลี่ยน "R" ในวงจรCrystal Resonator คิดว่าเสียงต่างมั๊ย ???
                                - เปลี่ยน "C" ในวงจรCrystal Resonator คิดว่าเสียงต่างมั๊ย ???
                                - ถ้าทำ "ฝาโลหะครอบวงจรCrystal Resonator เพื่อชีลด์" คิดว่าเสียงต่างมั๊ย ??? ผลจะเหมือนทำฝาครอบเครื่องมั๊ย ???
                                - เปลี่ยน "เบอร์ไอซีเรกกูเลเตอร์" สำหรับ จ่ายไฟเลี้ยงCrystal, จ่ายไฟเลี้ยงวงจรClock เสียงต่างมั๊ย ???
                                - เปลี่ยน "ชนิดของวงจรเรกกูเลเตอร์" สำหรับ จ่ายไฟเลี้ยงCrystal, จ่ายไฟเลี้ยงวงจรClock เสียงต่างมั๊ย ???

                                ถ้าต้องการความเที่ยงตรงของ clock คำตอบคือ " ห้ามเปลี่ยน" ถึงจะได้ความเที่ยงตรงที่สุด

                                จากคำถามสุดท้าย จริงๆแล้ว Crystal คืออะไรกันแน่ ทำงานอย่างไร ?
                                คริสตัลที่เรียกกัน จริงๆแล้วคือผลึกควอร์ต เป็นแร่ชนิดพิเศษที่มีปรากฎการณ์ที่น่าสนใจอย่างหนึ่งคือเพียชโซอิเล็กทริก
                                โดยผลึกนี้เมื่อได้รับกระแสไฟฟ้าจะสั่นด้วยความถี่คงที่และถ้าผลึกนี้สั่นก็จะให้กระแสไฟฟ้ากลับมาเช่นกัน
                                ดังนั้นสัญญาณที่ได้ออกมาจึงเป็นหน่วย Hz หรือแปลเป็นไทยก็คือ ต่อวินาที( S^-1 )

                                ดังนั้นหลังติดตั้งเสร็จจึงมีการคาริเบทเพื่อให้ได้ค่าตามมาตรฐานสากล ถ้าเราเปลี่ยนกระแส
                                ก็จะทำให้ค่าสัญญาณมันเพี้ยนไปจากเดิม แน่นอน เสียงเปลี่ยนครับ
                                แต่มันอาจเป็นเสียงที่คุณพอใจก็เป็นได้ แต่ไม่ใช่เสียงที่เที่ยงตรง "กว่าเดิม" แน่นอน

                                Comment

                                Working...
                                X