Announcement

Collapse
No announcement yet.

D.I.Y.ตอน ต่อแอมป์ 40+40 w. ราคาไม่ถึงพัน

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • Originally posted by tiger X-fi View Post
    เรื่องเสียงภาพรวม
    ไส้หลอดจ้า ออกแนวสดใสคึกคัก
    ไส้หลอดจืด ออกหนักแน่นมีเนื้อมีหนัง ครับ



    ic 3886 ผมว่าใช้หม้อแปลง 25-0-25 ถึง 30-0-30 ดีกว่าครับ
    ขนาน ic ข้างละ3ตัว ถ้าใช้ IE 2 ลูก ไม่ควรต่ำกว่าลูกละ 5A ครับ
    ที่ผมไปหาดูได้ประมาณนี้ครับจาก ebay

    Description:
    Voltage:+(-)15v --- +(-)36v ตรงนี้ัมันแปลงเป็น DC หรือยังครับ
    Enter impedance :47K
    Output impedance:4 ohm -- 8 ohm
    Working methods:Parallel DC class ab amplifier
    Pcb size:135MM*62MM
    AMP list :
    LM3886TF*3 NS
    CAP 4.7UF*1 SKY
    CAP 470UF*2 panasonic
    CAP 100UF*1 panasonic
    CAP 0.1UF*3 thomson
    CAP 221P*3
    CAP 47P*3
    adjustable resistance 100k *3
    non inductive resistance 022ohm 5w *3
    metalfilmresistor (4.7k,47k,220k,10ohm)
    2 wire connecting terminal *2
    3 wire connecting terminal *1
    Power supply component List:
    Name
    Qty
    Cap 10000U/50V NOVER 4

    CAP 0.1U/100V Phillip 2
    3 wire connecting terminal2
    10A Bridge rectifier+radiator1
    cap 0.01u/100v phillips
    Metal Film Resistors 4.7k

    http://www.ebay.com/itm/LM3886-3-Amp...-/320464946907


    EI ไม่ต่ำกว่า 5A ต่อลูก ตกลูกละเท่าไรครับ ประมาณครับ



    แบบนี้ไหวไหมครับ
    Last edited by cleaning; 6 Mar 2012, 06:04:20.

    Comment


    • แปลงแล้วครับ
      -------------
      Absolute Maximum Ratings (Notes 6, 5)
      If Military/Aerospace specified devices are required, please contact the National Semiconductor Sales Office/
      Distributors for availability and specifications.
      Supply Voltage |V+|+|V-| (No Signal) 94V
      Supply Voltage |V+|+|V-| (Input Signal) 84V


      http://www.ti.com/lit/ds/symlink/lm3886.pdf
      -----------
      ถ้าไม่มั่นใจก็ใช้ 25-0-25 ครับ ไฟแปลงแล้วน่าจะราวๆ +36 0 -36
      ที่ให้ 30-0-30 เห็นขนานเลยอยากให้เล่นไฟโหดน่ะ ไฟแปลงแล้วน่าจะราวๆ +43 0 -43
      EI 5A เฮนรี่ น่าจะราว 5-7 ร้อยครับ ไม่เกินนี้
      ------------
      เห็นแล้วน่าทำ
      LM3886 Briged amplifier
      http://www.ti.com/lit/an/snaa021a/snaa021a.pdf#page=1
      ---------------
      LM3886 เห็นฝรั่งทำแล้วอย่างน่ารักเลย

      http://www.diyaudio.com/forums/chip-...llery-211.html
      Last edited by tiger X-fi; 6 Mar 2012, 08:31:53.

      Comment


      • tweu.jpg

        วงจรนี้ผมใช้ไฟ 34-0-34 5a ได้ปะครับ
        จะต่อรวมกับ LM3886TF แล้วLM3886TFจะรับไฟ 34-0-34ได้มั้ยครับ

        Comment


        • ช่วยดูหน่อย ...ครับ ...ว่า ok...ไหม ?...



          Last edited by jinn; 6 Mar 2012, 19:21:23.

          Comment


          • ตัวล่าง ยังใส่อะไหล่ครบหรือตั้งใจจะทำแบบนั้นครับ

            ------------------
            ตัวบนโอครับ
            ตัวล่างแก้กราวด๋ ตามแบบของผม
            ลดขนาดป้ายชื่อ แล้ว ยืดกราวด์ in-out ให้ตรงกับ in-out
            Last edited by tiger X-fi; 6 Mar 2012, 19:54:05.

            Comment


            • คุณkeangเอาตัวอย่างมาให้ดูหลายอันมาจากเบอร์ต่างกันไป แต่ละอัน มีการใช้เทคนิคต่างกันไป
              แต่ยังไม่มีอันไหน ร่วมทุกเทคนิคเข้าด้วยกันหมด ผมว่ามันน่าลอง (ดีรึเปล่าไม่รู้น่ะ ทฤษเดาล้วนๆ)

              Comment


              • Originally posted by ManiacMaew
                คุณkeangเอาตัวอย่างมาให้ดูหลายอันมาจากเบอร์ต่างกันไป แต่ละอัน มีการใช้เทคนิคต่างกันไป
                แต่ยังไม่มีอันไหน ร่วมทุกเทคนิคเข้าด้วยกันหมด ผมว่ามันน่าลอง (ดีรึเปล่าไม่รู้น่ะ ทฤษเดาล้วนๆ)
                นี่แหล่ะจุดประสงค์หลักอย่างเป็นทางการ ที่ช่วงไหนพอมีเวลาว่าง จะท่องเวปต่างๆตะเวณหามาให้ดูกัน

                แต่ละคนก็มีแอมป์มีอะไรเหลือใช้จนล้นกันอยู่แล้ว
                เห็นอะไรออกใหม่เห็นอะไรแปลกใหม่ ไม่จำเป็นต้องรีบทำให้เสร็จ
                ใช้เวลาค่อยๆมองผลงานคนอื่นให้หลายๆด้าน แล้ววิเคราะจุดเด่นจุดด้อยตามที่เราคิดที่เราเห็น
                แล้วลองทำให้เป็นรูปแบบที่เราคิดว่า มันน่าจะใช่ มันน่าจะเป็น
                การพัฒนา การต่อยอด องค์ความรู้ มันถึงจะเกิดขึ้น

                Comment


                • เดี๊ยวจะปริศนาเชาว์เกิน

                  @ คุณ อาร์ท
                  -รูปล่างจะเอาเทคนิครูปบนมาใช้ก็ได้
                  -รูปบนถ้าเราเข้าใจเทคนิคเขา เอามาปรับใช้ ไม่ต้องเหมือนของเดิมมากก็ได้ ทำให้มันดีขึ้นก็ได้

                  --------

                  พิมพ์ไปตามทฤษเดาอย่าไปเชื่อมาก ไม่เคยประกอบแอมป์ลำโพงสักตัว
                  นั่งฟัง sonyโม กะรั่วๆ ที่ห้องแล้ว ก็ไม่รู้ว่าตัวเองจะทำอีกตัวทำไม
                  ว่าจะเอาเทคนิค ข้ามไปทำแอมป์หูฟังมากกว่า

                  Comment


                  • tweu.jpg

                    วงจรนี้ผมใช้ไฟ 34-0-34 5a ได้ปะครับ
                    จะต่อรวมกับ LM3886TF แล้วLM3886TFจะรับไฟ 34-0-34ได้มั้ยครับ[/QUOTE]

                    *-* รบกวนหน่อยครับ

                    Comment


                    • Originally posted by ManiacMaew View Post
                      เดี๊ยวจะปริศนาเชาว์เกิน

                      @ คุณ อาร์ท
                      -รูปล่างจะเอาเทคนิครูปบนมาใช้ก็ได้
                      -รูปบนถ้าเราเข้าใจเทคนิคเขา เอามาปรับใช้ ไม่ต้องเหมือนของเดิมมากก็ได้ ทำให้มันดีขึ้นก็ได้

                      --------

                      พิมพ์ไปตามทฤษเดาอย่าไปเชื่อมาก ไม่เคยประกอบแอมป์ลำโพงสักตัว
                      นั่งฟัง sonyโม กะรั่วๆ ที่ห้องแล้ว ก็ไม่รู้ว่าตัวเองจะทำอีกตัวทำไม
                      ว่าจะเอาเทคนิค ข้ามไปทำแอมป์หูฟังมากกว่า
                      ทำเอามันส์ไงครับ
                      มีลำโพง 3 คู่ แอมป์ 4 ตัว แต่มีอยู่แค่ 2 หูเอง 555

                      ปล.แม่เคยมาหาแล้วโดนด่า "จะทำให้มันรกห้องทำไมเยอะแยะ"

                      T^T

                      Comment


                      • Originally posted by milestone View Post
                        ทำเอามันส์ไงครับ
                        มีลำโพง 3 คู่ แอมป์ 4 ตัว แต่มีอยู่แค่ 2 หูเอง 555

                        ปล.แม่เคยมาหาแล้วโดนด่า "จะทำให้มันรกห้องทำไมเยอะแยะ"

                        T^T
                        +1 โดนเหมือนกันครับ

                        Comment





                        • ตัวนี้ใส่ LM3875TF ได้ไหมครับ

                          Comment


                          • มีแอมป์หลายตัว มีปรีหลายตัว มีลำโพงหลายตัว แต่ละตัวมีดีคนละอย่าง เวลาจะใช้ก็เลือกใช้แค่อย่างละ1
                            มีเวลา ลองหาวิธีทำให้ ตัวเดียวมันให้องค์ประกอบโดยรวม มันโดดเด่นจนไม่จำเป็นต้องมีตัวที่2 3 4 5 6 7 8
                            เครื่องแบรนด์ที่เค้าทำได้ และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางกว่า เพราะเค้าทำองค์ประกอบโดยรวมได้นี่แหล่ะ


                            เราโมเครื่องแบรนด์ โมไอเดียคนอื่น ยังงัยก็ยังเป็นแบรนด์คนอื่น ยังงัยก็เป็นไอเดียคนอื่น
                            ทุกๆวงจรที่ทำกัน ส่วนใหญ่ก็มาจากฐานวงจรพื้นฐานของผู้ผลิตชิบ วงจรพื้นฐานของผู้ผลิตหลอด วงจรพื้นฐานของเครื่องรุ่นเก่าๆ
                            มีเวลา ลองหาวิธีทำให้ มันเป็นไอเดียของเรา มันเป็นผลงานของเรา น่าจะดีไม่น้อย


                            -----------------------------------------------------------------------


                            Originally posted by MaKuBeck
                            ตัวนี้ใส่ LM3875TF ได้ไหมครับ
                            ไม่ได้ครับ
                            Last edited by keang; 7 Mar 2012, 13:40:40.

                            Comment


                            • Originally posted by jinn View Post
                              ช่วยดูหน่อย ...ครับ ...ว่า ok...ไหม ?...
                              - ลายPCBโค้ง ไร้เหลี่ยมมุม
                              แบบนี้มีผลดีทั้งเรื่องทางเดินไฟฟ้าและความสวยงาม

                              - ความกว้างของลายทองแดง ไม่ควรน้อยกว่าขาตัวอะหลั่ยในแต่ละจุด
                              ถ้าอะหลั่ยขากลมก็ให้นึกว่า ถ้าทำให้มันแบนและหนาเท่าความหนาของเนื้อทองแดงPCB จะได้ความว้างเป็นเท่าไหร่

                              - พยายามให้ขาของตัวอะหลั่ยอยู่ใกล้กับขาอะหลั่ยตัวถัดไปมากที่สุด
                              จะได้ลดเอฟเฟคทางเดินไฟ, เสียงของเนื้อทองแดงที่ใช้ทำPCB

                              - เอาCที่ต่อไบแคปทั้งหมดออกจากลายPCB
                              ถ้าจะไบแคปก็ไปบัดกรีที่ใต้PCBตรงขาCตัวหลัก


                              ไบแคป คืออะไร
                              - การทำให้C2ตัว ทำงานเสมือนเป็นCเพียง1ตัวเท่านั้น ใส่Cเพิ่มเข้ามาเพื่อชดเชยบางเสี้ยวบางส่วนของCหลักเท่านั้น
                              - C2ตัวอยู่กันคนละที่ มันก็คือ C2ตัวC2ค่าแยกกันทำงานตามค่าความจุของมัน


                              --------------------------------------------------------


                              LM1875


                              - Cฟิลเตอร์ไฟเลี้ยง ไม่ใส่Cไบแคป ถ้าจะไบแคปก็ไปบัดกรีที่ขาCตัวหลักโดยตรง
                              - ไม่ใส่C 330pF ถ้าจะใส่ก็ไปบัดกรีที่ขาLM1875โดยตรง
                              - ลายทองแดงกราวน์ แยกเป็น3เส้น input, 22k, 100uf/50v
                              - เลื่อนRอินพุทอิมพิแดนซ์22k ไปอยู่ด้านบนติดกับRอีก2ตัว เพื่อลดระยะทางเส้นทางอินพุทจากCไปLM1875
                              - เลื่อนจุดกราวน์อินพุทลงมาที่ริมขอบPCBด้านล่าง + Cอินพุทของเดิมอยู่แนวนอนเปลี่ยนเป็นแนวตั้ง จะได้ใส่Cฟิลม์ตัวใหญ่ๆได้

                              มากกว่านี้ก็จะเป็นเรื่องการจัดกราวน์อินพุทกับเอ้าท์พุท


                              --------------------------------------------------------


                              LM3886



                              ดูรูปวงจรประกอบกับเลย์เอ้าท์ลายทองแดง
                              - ไม่ใส่C7,C8 ถ้าจะไบแคปก็ไปบัดกรีที่ขาCตัวหลักโดยตรง
                              - C2 ควรใช้แบบNon-Polar รองลงมาก็แบบBi-Polar (ใช้แบบมีขั้ว2ตัวต่อเป็นBi-Polar เหมือนLM1875ข้างบน)

                              มากกว่านี้ก็จะเป็นเรื่องการจัดกราวน์อินพุทกับเอ้าท์พุท


                              Originally posted by tiger X-fi
                              ตัวล่างแก้กราวด๋ ตามแบบของผม
                              ลดขนาดป้ายชื่อ แล้ว ยืดกราวด์ in-out ให้ตรงกับ in-out
                              เอาป้ายชื่อออกไปเลยดีกว่าครับ
                              เพราะป้ายชื่อจะกลายเป็นเสาอากาศรับคลื่นวิทยุในอากาศ มาจ่อคอยรบกวนการทำงานตัววงจร


                              --------------------------------------------------------


                              ตัวช่วยเรื่องกราวน์



                              STABILITY ก็อปจากdatasheet
                              The LM1875 is designed to be stable when operated at a closed-loop gain of 10 or greater, but, as with any other high-current amplifier, the LM1875 can be made to oscillate under certain conditions. These usually involve printed circuit board layout or output/input coupling.

                              Proper layout of the printed circuit board is very important. While the LM1875 will be stable when installed in a board similar to the ones shown in this data sheet, it is sometimes necessary to modify the layout somewhat to suit the physical requirements of a particular application. When designing a different layout, it is important to return the load ground, the output compensation ground, and the low level (feedback and input) grounds to the circuit board ground point through separate paths. Otherwise, large currents flowing along a ground conductor will generate voltages on the conductor which can effectively act as signals at the input, resulting in high frequency oscillation or excessive distortion. It is advisable to keep the output compensation components and the 0.1 uF supply decoupling capacitors as close as possible to the LM1875 to reduce the effects of PCB trace resistance and inductance. For the same reason, the ground return paths for these components should be as short as possible.

                              Occasionally, current in the output leads (which function as antennas) can be coupled through the air to the amplifier input, resulting in high-frequency oscillation. This normally happens when the source impedance is high or the input leads are long. The problem can be eliminated by placing a small capacitor (on the order of 50 pF to 500 pF) across the circuit input.

                              Most power amplifiers do not drive highly capacitive loads well, and the LM1875 is no exception. If the output of the LM1875 is connected directly to a capacitor with no series resistance, the square wave response will exhibit ringing if the capacitance is greater than about 0.1 uF. The amplifier can typically drive load capacitances up to 2 uF or so without oscillating, but this is not recommended. If highly capacitive loads are expected, a resistor (at least 1 ohm) should be placed in series with the output of the LM1875. A method commonly employed to protect amplifiers from low impedances at high frequencies is to couple to the load through a 10 ohm resistor in parallel with a 5 uH inductor.
                              Last edited by keang; 20 Apr 2014, 16:25:09.

                              Comment


                              • tweu.jpg

                                วงจรนี้ผมใช้ไฟ 34-0-34 5a ได้ปะครับ
                                จะต่อรวมกับ LM3886TF แล้วLM3886TFจะรับไฟ 34-0-34ได้มั้ยครับ

                                Comment

                                Working...
                                X