www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/index-cor.htm
ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่เว็บไซด์
งานสีรถยนต์
-----------------------
หน่วยที่ 1
เคร
่
อ
ื
งม
ื
ออป
ุ
กรณ
์
งานสี
แนวคิด
การใชเ้ครื่องมืออุปกรณ์งานสีเป็นสิ่งจา เป็นพ้ืนฐานสา หรับการพน่ สีใหไ้ดผ้ลงานที่ดี
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ อุปกรณ์ชิ้นส่วนของรถยนตท์ ี่ชา รุดเสียหายใหส้ีที่พน่ ไวถู้กทา ลายจา เป็นตอ้ง
เคาะให้ได้รูปทรงเหมือนเดิม เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใชจ้ึงเป็นองคป์ ระกอบที่สา คญั อยา่ งหน่ึที่จะ
ท าให้งานสีมีความสมบูรณ์สวยงาม จ าเป็ นที่ผู้ใช้จะต้องเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้ถูกต้อง
เหมาะสมกบั ชนิดของงานสี
สาระการเรียนรู้
1. เครื่องมือเคาะข้ึนรูป 5. การปรับความดันอากาศเพื่อน าไปใช้งาน
2. วิธีการเคาะข้ึนรูป 6. สายยาง
3. เครื่องอัดอากาศ 7. เครื่องขัดสี
4. เครื่องควบคุมความดันอากาศอัด
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายเครื่องมือเคาะข้ึนรูปได้
2. อธิบายวธิีการเคาะข้ึนรูปได้
3. อธิบายการท างานเครื่องอัดอากาศได้
4. อธิบายการทางานเครื่องควบคุมความดันอากาศได้
5. อธิบายการเลือกใช้สายยางน าไปใช้งานได้
6. อธิบายเครื่องมือเครื่องขัดสีได้
7. วเิคราะห์เลือกใชเ้ครื่องมือเคาะข้ึนรูปได้
8. ปฏิบตัิการเคาะข้ึนรูปได้
9. ปฏิบัติการการใช้เครื่องขัดสีได้
เคร่อ
ื
งม
ื
อเคาะข้ึ
นรูป
เครื่องมือที่ใชใ้นการเคาะข้ึนรูปโลหะแผน่ เป็นเครื่องมือเฉพาะงาน เป็นเครื่องมือพ้ืนฐานที่
ใชใ้นการเคาะข้ึนรูปที่ช่างสีรถยนตจ์ะตอ้งมีความรู้และมีทกัษะในการใช้เครื่องมือเคาะข้ึนรูปจะมี
ลกัษณะแตกต่างจากเครื่องมืออื่น ๆ จึงไม่ควรนา เครื่องมือเคาะข้ึนรูปไปใชใ้นงานทวั่ ไป เช่น คอ้น
เคาะข้ึนรูปไม่ควรนา ไปใชเ้คาะตีหรือดดัเหล็กเส้นทวั่ ไป เป็นตน้ เครื่องมือเคาะข้ึนรูปมีลักษณะการ
ใชง้านดงัน้ี
1.ค้อนเคาะขึน้ รูป ใชส้ า หรับเคาะข้ึนรูปแผน่ โลหะ มีดงัน้ี
1.1คอ้นปลายขวางคอ้นชนิดน้ีหัวของค้อนมีลักษณะกลม ปลายของค้อนมี
ลกัษณะแบนขวางกบัดา้มคอ้น ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบและใชเ้คาะข้ึนสันแนวขวาง
1.2คอ้นปลายตรงคอ้นชนิดน้ีหวัของคอ้นมีลกัษณะกลม ปลายของคอ้นมีลกัษณะ
แบนอยใู่ นแนวตรงกบัดา้ม ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบและข้ึนสันแนวตรง
1.3คอ้นปลายแหลม คอ้นชนิดน้ีหวัของคอ้นมีลกัษณะกลม ปลายของค้อนมี
ลกัษณะแหลม ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบและใชเ้คาะรอยนูนเล็ก ๆ
1.4คอ้นไม้หวัคอ้นท้งัสองดา้นมีลกัษณะกลม ทา จากไมเ้น้ือแขง็ ใชเ้คาะเบา ๆ
เพื่อไม่ใหแ้ผน่ โลหะยดืตวั
รูปท1ี่ .1แสดงลกัษณะของคอ้นข้ึนรูปชนิดต่าง ๆ
2. ค้อนตู๊เป็นคอ้นที่ไม่ใชต้ีแต่ใชร้องรับชิ้นงานขณะทา การตีดว้ยคอ้น ค้อนตู๊มีขนาดและ
รูปร่างที่แตกต่างดงัน้นั ผปู ฏิบตัิงานตอ้งเลือกใชใ้หเ้หมาะสมกบัขนาดและรูปร่างของชิ้นส่วน
3. ช้อนรองการเคาะข้ึนรูปพ้ืนที่บางแห่งที่แคบ ๆ เช่น ในซอกหลืบของรถยนต์บางคร้ังไม่
สามารถที่จะใชม้ือสอดเขา้ไปดา้นใน จึงจา เป็นตอ้งใชเ้ครื่องมืออื่นนอกจากคอ้นตู๊นนั่ ก็คือชอ้ นรอง
ซึ่งใช้ส าหรับสอดเข้าไปในซอกหลืบเพื่อรองรับชิ้นงานขณะทา การเคาะดว้ยคอ้น
4. ค้อนกระตุก มีลกัษณะเป็นกา้นเหล็กสอดอยใู่ นแท่งเหล็กที่เจาะรูไว้ส่วนปลายงอไว้
สา หรับเกี่ยวเมื่อกระตุกแท่งเหล็กมาดา้นหลงัจะเกิดแรงดึงถอยหลงั ใชส้ า หรับกระตุกดึงชิ้นงานที่
บุบ โดยที่ไม่สามารถใชค้อ้นเคาะออกมาจากด้านในได้
ลกัษณะของคอ้นตูแ๊บบต่าง ๆ ลักษณะของช้อนรอง
รูปท1ี่ .2แสดงลักษณะของค้อนตู๊และช้อนรอง
รูปท1ี่ .3แสดงลักษณะของค้อนกระตุก
วธิีการใชเ้ครื่องมือเคาะข้ึนรูปมีหลกัการใชด้งัน้ี
1. การจับค้อน
? ควรจับให้ด้ามคอ้นเอียงทา มุมกบัแขนประมาณ 120องศา
? ควรจบัให้***งจากส่วนปลายของดา้มคอ้นประมาณ 10-20 มม.
? ใชน้ ิ้วมือกา ดา้มคอ้นโดยใหเ้หลือช่องวา่ งระหวา่ งดา้มคอ้ นกบัอุง้มือไว้
2.การจับค้อนตู๊ควรวางคอ้นตูไ๊วใ้นอุง้มือและประคองไม่ใหค้อ้นตู๊ขยบั ตวัดว้ยนิ้วท้งัหา้
และงอขอ้มือใหค้อ้นตูท๊า มุมกบัขอ้มือประมาณ 15องศา
3. การใช้แรงในการเคาะการเคาะข้ึนรูปน้นั ใหใ้ชแ้รงเคาะมาจากขอ้ศอกไม่ควรใชแ้รงเคาะ
ที่มาจากข้อมือและจากไหล่การเคาะต้องควบคุมให้ค้อนสัมผัสผิวงานเต็มหน้าการเอียงหัวค้อน
ขณะเคาะจะทา ใหไ้ดร้อยเคาะที่ไม่สม่า เสมอ
รูปท1ี่ .4แสดงวิธีการจับค้อนเคาะข้ึนรูป
รูปท1ี่ .5แสดงวิธีการจับค้อนตู๊
วธ
ิี
การเคาะข
้
ึ
นร
ู
ป
การเคาะข้ึนรูปที่จะกล่าวต่อไปน้ีไม่ใช่การเคาะข้ึนรูปชิ้นงานข้ึนมาใหม่แต่เป็นการเคาะข้ึนรูปเพื่อ
ซ่อมชิ้นงาน หรือชิ้นส่วนของรถยนตท์ ี่เกิดรอยบ้ีหรือบุบใหค้ืนสู่สภาพดงัเดิม
1.การเคาะบนค้อนตู๊กรณีเกิดรอยบุบขนาดเล็กเขา้ไปดา้นในหรือเกิดรอยนูนออกมาด้าน
นอก สามารถใช้ค้อนตู๊รองรับ และเคาะให้คืนสภาพดังเดิมด้วยค้อน
รูปท1ี่ .6แสดงวิธีการเคาะและการสัมผัสของหน้าค้อน
รูปท1ี่ .7แสดงวธิีการเคาะข้ึนรูปรอยบุบและรอยนูน
2.การเคาะนอกค้อนตู๊กรณีเกิดรอยยบุ ตวัเป็นพ้ืนที่กวา้ง ๆ สามารถใชค้อ้นตูร๊องรับรอย
บุบดา้นในและใชค้อ้นเคาะรอยนูนดา้นนอกโดยที่คอ้นและคอ้นตูอ๊ยคู่ นละตา แหน่งกนั รอยบุบจะ
ถูกกระแทกจากค้อน และถูกดันจากค้อนตู๊กลับคืนรูปเดิม
การเคาะพ้ืนที่ที่เสียรูปสามารถทา ใหค้ืนรูปดังเดิมได้โดยการเคาะส่วนที่นูนสูงกวา่ เดิมน้นั
จะตอ้งเคาะลง ในขณะเดียวกนั ส่วนที่ต่า น้นัจะตอ้งกนัออกมา พ้ืนที่ที่เสียรูปน้นัจะคืนรูปดงัเดิม
การซ่อมตวัถงัรถยนต์บางคร้ังไม่สามารถใชค้อนดันด้านในได้ขณะท าการเคาะคืนรูป กรณี ้
น้ีสามารถแกไ้ขไดโ้ดยการเชื่อมแหวนใหต้ิดที่ผวิดา้นนอกจากน้นัจึงใชข้อเกี่ยวดึงขณะท าการเคาะ
รูปท1ี่ .8แสดงวิธีการใช้ค้อนเคาะนอกค้อนตู๊ รูปท1ี่ .9แสดงวิธีการเคาะรอยบุบที่มีขนาดใหญ่
รูปท1ี่ .10 แสดงวิธีการเคาะคืนรูปพ้ืนที่ที่เสียรูปมาก
เครื่องอัดอากาศ
เครื่องอัดอากาศ (Air Compressor) หรือเรียกกนั ทวั่ ไปวา่ ปั๊มลม เป็นอุปกรณ์ที่สา คญั ใน
งานพน่ สีเพราะความเร็วสูงของอากาศที่ถูกปล่อยมาจากเครื่องอดัอากาศจะช่วยดนั หรือดึงใหส้ีพน่
ออกมาจากกระป๋องสีเป็นสเปรย์เครื่องอดัอากาศน้ีจะทา หนา้ที่อดัอากาศจากอากาศที่มีความดนั
อากาศปกติ ที่ 14.7 ปอนด/์ ตารางนิ้วโดยการดูดเขา้ไปทางท่ออากาศที่ถูกดูดเขา้และถูกอดัแน่นอยู่
ในถงัซ่ึงมีพ้ืนที่จา กดั อากาศที่ถูกอดัจะมีปริมาตรเล็กลง เมื่ออากาศถูกอดัเขา้ไปในถงัเพิ่มมากข้ึน
ความดนั ในถงัก็จะสูงข้ึนตามปริมาตรของอากาศเมื่อได้ระดับความดันของอากาศตามต้องการแล้ว
สวติซ์ก็จะถูกตดัใหเ้ครื่องอดัอากาศหยดุ ทา งาน อากาศอดัจะถูกปล่อยเพื่อนา ไปใชง้านสีโดยจะ
ไหลไปตามท่อ นิยมนา ไปใชง้านอยา่ งกวา้งขวาง สรุปขอ้ดีของเครื่องอดัอากาศไดด้งัน้ี
1. ประหยัดแรงงานและมีความทนทานสูง
2. มีความปลอดภยัสูง มีตวัควบคุมความดนั ภายในถงัเพื่อป้องกนัการใชง้านเกินกา ลงั
3. ใช้งานได้สะดวก เพราะสามารถควบคุมอัตราความเร็วของลมและความดนัไดง้่าย
4. เก็บอากาศไวใ้ชง้านไดง้่ายโดยเก็บอากาศไวใ้นถงัเก็บอากาศได้
5. ไม่มีมลพิษกบัอากาศที่จดัเก็บ อากาศที่ใชแ้ลว้สามารถปล่อยออกสู่บรรยากาศไดเ้ลย
เครื่องอดัอากาศมีหลายชนิดแต่ละชนิดไดถู้กแบ่งแยกตามลกัษณะการปั๊มอากาศเขา้ไปอดัเก็บไว้
ภายในถัง
รูปท1ี่ .11 แสดงวิธีการเชื่อมแหวนและดึงแหวนขณะเคาะให้คืนรูป
จะเห็นไดว้า่ เครื่องอดัอากาศสามารถออกแบบลกัษณะของการดูดอดัเพื่อเก็บอากาศเขา้ไว้
ในถงั โดยทวั่ ไปมี2 ชนิดคือ
1.เครื่องอดัอากาศแบบลูกสูบ (Piston Type Air Compressor) เครื่องอดัอากาศชนิดน้ีนิยม
ใชก้ นัอยา่ งแพร่หลายในปัจจุบนั สามารถอดัอากาศไดท้ ้งัความดนั ต่า ความดนั ปานกลางจนกระทงั่
ถึงความดันสูง เครื่องอดัอากาศแบบลูกสูบน้ีแบ่งออกเป็น 2 ชนิดดงัน้ี
1.1เครื่องอดัอากาศแบบข้นั ตอนเดียว หรือลูกสูบเดียวเป็ นเครื่องอัดอากาศชนิด
ความดนั ต่า มีลูกสูบเพียงลูกเดียว สามารถอดัอากาศไดเ้ป็นอยา่ งดีที่ความดนั 100 ปอนด/์ ตารางนิ้ว
รูปท1ี่ .12แสดงลกัษณะของการดูดอดัอากาศเขา้เก็บไวใ้นถงัของเครื่องอดัอากาศ
(PSI) โดยเพลาขอ้เหวยี่ งน้ีทา ใหลู้กสูบข้ึนลงได้ขณะที่เพลาหมุน 1รอบ จะทา ใหลู้กสูบถูกดนัข้ึน
และดึงลง 1คร้ังจะทา ใหเ้กิดจงัหวะดูดและอดัของลิ้นปิด-เปิดเพียง 1คร้ังเช่นเดียวกนั แต่ถา้ความ
ดนั เกินกวา่ 100 ปอนด์/ ตารางนิ้วเครื่องอดัอากาศจะไม่สามารุทา การอดัได้
1.2 เครื่องอดัอากาศแบบสองข้นั ตอน หรือเครื่องอดัอากาศชนิด2ลูกสูบ เป็ น
เครื่องอดัอากาศที่มีแรงดนั สูง เครื่องอดัอากาศแบบน้ีจะมีลูกสูบ 2ลูกเมื่อเพลาขอ้เหวี่ยงหมุน 1
รอบ ลูกสูบท้งัสองจะทา หนา้ที่อดัอากาศเขา้เก็บไวภ้ายในถงั สามารถอดัอากาศเมื่อมีความตอ้งการ
แรงดนั ที่สูงกวา่ 100 ปอนด์/ ตารางนิ้วเหมาะสา หรับงานพน่ สีขนาดใหญ่งานนิวเมติก และงาน
หนกัทวั่ ๆ ไป
2. เครื่องอัดอากาศแบบแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm Type Compressor) เครื่องอัด
อากาศแบบน้ีจดัอยใู่ นประเภทเครื่องอดัอากาศแบบลูกสูบชนิดหน่ึง เพียงแต่ห้องอดัอากาศกบั
ลูกสูบจะถูกคนั่ ไวด้ว้ยแผน่ ไดอะแฟรม ใช้พลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้า เมื่อแผน่ ไดอะแฟรมที่ติดกบั
ลูกสูบเคลื่อนลงอากาศจะถูกดูดเขา้มาจนเตม็ หอ้งอดั และเมื่อแผน่ ไดอะแฟรมเลื่อนข้ึน อากาศก็จะ
ถูกอดัผา่ นวาลว์ เขา้ไปยงัถงัเก็บลม อากาศที่ไดจ้ากเครื่องอดัอากาศประเภทน้ีจะสะอาดปราศจาก
น้า มนัและสิ่งสกปรกต่าง ๆ
เครื่องอดัอากาศแบ่งตามลกัษณะของการใชพ้ลงังานขบั เคลื่อน แบ่งออกไดเ้ป็น เครื่องอดั
อากาศที่ใช้พลังงานขับเคลื่อนลูกสูบด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ า และเครื่องอัดอากาศที่ใช้พลังงานขับเคลื่อน
ลูกสูบด้วยเครื่องยนต์ซ่ึงมีท้งัชนิดเครื่องยนตเ์บนซินและเครื่องยนตด์ีเซลเครื่องอดัอากาศชนิดน้ีได้
ออกแบบใหม้ีการติดต้งัลอ้ไวเ้หมาะสา หรับเคลื่อนยา้ยใชง้านนอกสถานที่หรือสถานที่ที่ไม่มีไฟฟ้า
ใช้ส่วนเครื่องอดัอากาศแบบใชพ้ลงังานในการส่งกา ลงัจากมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องอดัอากาศชนิดน้ีใช้
งานไดเ้ร็ว สะดวกเหมาะสา หรับติดต้งัในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรมทวั่ ไป
รูปท1ี่ .15แสดงลักษณะการท างานของแผน่ ไดอะแฟรมของเครื่องอัดอากาศ
อากาศเมื่อถูกอดัแน่นอยใู่ นถงั โมเลกุลจะถูกบีบใหเ้ล็กลงจะเกิดความเยน็และ
กลนั่ ตวัเป็นหยดน้า อยภู่ ายในถงัและจะไหลอออกมาตามท่อดงัน้นัควรปล่อย
วาลว์ ปิด/เปิด บริเวณกน้ถงั เพื่อปล่อยน้า ออกทิ้งทุกคร้ังก่อนมีการพน่ สี
เคร่อ
ื
งควบคุมความดันอากาศอัด
เครื่องควบคุมความดันอากาศอดั (Air Regulator) จะท าหน้าที่ควบคุมความดันอากาศที่จะ
ออกมาจากเครื่องอัดอากาศให้มีความดันใช้งานคงที่ตลอดเวลาขณะเดียวกนัก่อนที่อากาศอดัจะ
ผา่ นตวัควบคุมความดนั น้นั ตอ้งผา่ นตวักรองอากาศเพื่อทา ความสะอาดอากาศที่ผา่ นมาเสียก่อน
รูปท1ี่ .16แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของปั๊มลม
หมายเหตุ:
รูปท1ี่ .17 แสดงให้เห็นวาล์วส าหรับปล่อยน้า ทิ้ง ซ่ึงอยบู่ ริเวณกนัถงัของเครื่องอดัอากาศ
โดยมีน้า จากในถงัที่ไหลมาตามท่อถูกดกัอยใู่ นตวักรองอากาศน้ีดว้ยเครื่องควบคุมความดนั น้ีจะมี
เกจวดัเพื่อใชใ้นการกา หนดและตรวจสอบความดนัขณะนา อากาศไปใชง้าน
แอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ (Air Transformer) เป็ นชุดที่มีการน าเอาตัวกรองอากาศ และตัว
ควบคุมความดนัอากาศเขา้ไวด้ว้ยกนั ทา ใหป้ ระหยดัเน้ือที่สะดวกในการติดต้งัและง่ายต่อการใช้
งาน สรุปหนา้ที่ของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ไดด้งัน้ี
1. ท าความสะอาดอากาศอดั เช่น กรองฝุ่นละออง น้า น้า มนั และสิ่งสกปรกที่มาจาก
เครื่องอัดอากาศ ฯลฯ
2. ควบคุมความดันอากาศใหม้ีความกนัออกไปใชง้านอยา่ งสม่า เสมอ
รูปท1ี่ .18 แสดงภาพของเครื่องกรองอากาศและเครื่องควบคุมความดัน
แสดงให้เห็นเส้นทางการไหลของอากาศอัด
รูปท1ี่ .19 แสดงเครื่องควบคุมความดนัและเครื่องกรองอากาศและน้า ที่ติดต้งัไว้
ก่อนเขา้เครื่องควบคุมความดัน และหลังจากออกจากเครื่องควบคุมความดัน
3. สะดวกในการจ่ายอากาศอดัออกไปใชง้าน สามารถต่อท่อออกไปใชง้านไดห้ลายท่อ
4. สามารถระบายน้า น้า มนั และสิ่งสกปรกออกจากวาลว์ ซ่ึงอยบู่ ริเวณดา้นใตข้องเครื่อง
รูปท1ี่ .20แสดงลักษณะของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์
รูปท1ี่ .21แสดงการต่อระบบทางเดินของอากาศอดัอยา่ งง่าย
การปรับความดน
ั
อากาศเพอ่ื
น
าไปใช้งาน
การปรับความดันของอากาศอัดจะข้ึนอยกู่ บัลกัษณะของงานที่ใช้ซึ่งจะใช้ความดันของ
อากาศอดัที่แตกต่างกนั งานพน่ สีจะมีการปรับความดนั ใชง้านที่เหมาะสมดงัน้ี
? งานซ่อมสีแล็กเกอร์จะใช้ความดัน 30-35 ปอนด์/ ตารางนิ้ว
? งานพน่ สีแล็กเกอร์ทบักนัจา นวนหลายช้นัก่อนพน่ สีช้นั สุดทา้ยจะใชค้วามดนั 10-
45 ปอนด์/ ตารางนิ้ว
? งานพน่ สีแล็กเกอร์คร้ังสุดทา้ยจะใช้ความดันต ่าประมาณ 20-25 ปอนด/์ ตารางนิ้ว
? สีอะคริลิกอีนาเมล ช่วงที่ตอ้งพน่ ทบักนั หลายช้นั เพื่อเพิ่มความหนาใหก้ บั สีก่อนก
สนพน่ สีคร้ังสุดทา้ยจะใชค้วามดนัอากาศในการพ่นสีประมาณ 45-65 ปอนด์/
ตารางนิ้ว
? สีอลัไคดอ์ีนาเมลเมื่อนา ไปใชพ้ น่ ชิ้นงานก่อนทา การพน่ สีสา เร็จคร้ังสุดทา้ยจะใช้
ความดันอากาศประมาณ 45-55 ปอนด์/ ตารางนิ้ว
การเลือกใชท้ ่อลมใหเ้หมาะสมกบัขนาดแรงมา้ของมอเตอร์และความสามารถในการบรรจุ
อากาศของเครื่องอัดอากาศ ผู้ปฏิบัติงานต้องพิจารณาเลือกใชท้ ่อใหถู้กตอ้งและมีขนาดที่เหมาะสม
กบัแรงมา้ของเครื่องอดัอากาศและปริมาตรของอากาศที่สามารถบรรจุไดใ้นถงัตามตารางดงัต่อไปน้ี
ตารางที่1.1แสดงขนาดของท่อลมต่า สุดที่เหมาะสมกบัขนาดของเครื่องอดัอากาศ
ความสามารถของเครื่องอัดอากาศ ระยะการเดินทางของอากาศ
ขนาด
(แรงม้า)
ความสามารถปล่อยอากาศ
(ลูกบาศก์เมตร)
ความยาว
(ฟุต)
ขนาด
(นิ้ว)
1 ? 6-9 มากกวา่ 50 3/4
รูปท1ี่ .22แสดงการติดต้งัเครื่องอดัอากาศ ท่อทางเดินของอากาศดนั
และตัวแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ใช้งานหลายจด
3 และ 5 12-20 จนกระทงั่ ถึง200
มากกวา่ 200
3/4
1
5-10 20-40 จนกระทงั่ ถึง100
มากกวา่ 100 ? 200
มากกวา่ 200
3/4
1
1 1/4
10-15 40-60 จนกระทงั่ ถึง100
มากกวา่ 100 ? 200
มากกวา่ 200
1
1 1/4
1 1/2
ที่มา : ข้อมูลของบริษัท De Vibiss, Clive H. Hare. Paintingof Steel Bridges and Other Structures. New
York, Van Nostrand Reinhold International Company Limited: 1990. p. 118
จากตารางที่ 1.1 จะเห็นวา่ ถา้เครื่องอดัอากาศมีขนาด1 เศษ 1 ส่วน 2และ2แรงมา้
สามารถปล่อยอากาศอดัไดป้ ริมาตร6-9 คิวบิกฟุต/ นาที (CFM)แลว้ ถา้ความยาวของท่อหลกัที่ใชมี้
ความยาวท้งัหมดเกินกวา่ 50 ฟุตแลว้ ควรเลือกใชท้ ่อหลกัในการเดินมีขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ลาง 3
ส่วน 4 นิ้ว(19 มม.)
ความดันของอากาศอัดที่หายไป ความดันของอากาศอัดจะขาดหายไประชุดทรานส์ฟอร์
เมอร์กบักาพน่ สีความดนัอากาศอดัจะขาดหายไป 6 ปอนดต์ ่อทุก ๆ ความยาวของสายยาง 25 ฟุต
เช่น ความดนั ที่46 ปอนด/์ตารางนิ้วเมื่อวัดความดันที่บริเวณกาพน่ สีจะเหลือเพียง 40 ปอนด์/
ตารางนิ้วเท่าน้นั ดงัน้นั การปรับความดนั ที่แอร็ทรานส์ฟอร์เมอร์ตอ้งปรับเผอื่ ไวใ้หม้ ากกวา่
เพื่อใหไ้ดร้ะดบัความดนั ที่ถูกตอ้ง เหมาะสมตรงบริเวณกาพน่ สีตามตารางที่1.2ดงัน้ี
ตารางที่1.2แสดงความดนัอากาศอดัที่กาพน่ สี
ความโตของรูสายยาง
(ส้นผ่าศูนย์กลาง)
ความดันอ่านได้ที่
ทรานส์ฟอร์เมอร์
ความดันที่กาพ่นสีซึ่งจะเปลี่ยนตาม
ความยาวของสายยาง (ฟุต)
ปอนด์ 5 10 15 20 25 50
5/16 นิ้ว 30 29 28/12 28 27/12 27 23
40 38 37 37 37 36 32
50 47 48 46 46 45 40
60 57 56 55 55 54 49
70 66 65 64 63 63 57
80 75 74 73 72 71 66
90 84 83 82 81 80 57
1/4 นิ้ว 30 26 24 23 22 21 9
40 34 32 31 29 27 16
50 43 40 38 36 34 22
60 51 48 46 43 41 29
70 59 56 53 51 48 36
80 68 64 61 58 55 43
90 76 71 68 65 61 51
ที่มา : ข้อมูลของบริษัทดูปองต์ (Du Pont Company) Clive H. Hare. Painting of Steel Bridges and other
Structures. . New York, Van Nostrand Reinhold International Company Limited: 1990. p. 121
จากตารางที่1.2จะเห็นวา่ ถา้ใชส้ ายยางที่มีขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ลางของรูเศษ 1 ส่วน 4 นิ้ว(6
มม.)อ่านความดันที่แอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ได้60 ปอนด/์ตารางนิ้ว สายยางยาว15 ฟุต จะเหลือความ
ดนั ที่กาพน่ สีเพียง 46 ปอนด/์ตารางนิ้วเท่าน้นั
สายยาง
สายยาง (Hose) เป็นท่อที่ใชใ้นการลา เลียงอากาศอดัหรือสีออกไปยงักาพน่ สีโดยทวั่ ไป
สายยางที่ใชใ้นการพน่ สีจะมี2 ชนิดคือ สายยางที่ใชเ้ป็นทางเดินของอากาศอดั และสายยางที่ใช้
เป็ นทางเดินของสีหรือของเหลวการออกแบบโครงสร้างใหม้ีท้งัชนิดใยเชือก1 ช้นั สา หรับความดนั
ใชง้านที่ไม่สูงมากนกั หรือชนิดใยเชือก2 ช้นั สา หรับสายยางที่ตอ้งการแรงดนั สูง ท่อยางที่จะ
นา มาใชใ้นงานพน่ สีน้ีจะตอ้งผา่ นกรรมวธิีทางเคมีโดยการนา น้า ยางไปผสมกบักา มะถนัและนา ไป
เคี่ยวหรืออบ เพื่อใหม้ีคุณสมบตัิทางกลและทางเคมีดีข้ึน
โครงสร้างของสายยางควรมีคุณสมบตัิดงัน้ี
1. ท่อภายใน (Inner Tube) โครงสร้างส่วนน้ีตอ้งตา้นทานต่อสารทา ละลายได้ทนต่อ
แรงดันและอุณหภูมิสูงได้
2. ชั้นสอดใยเชือก (Braid Insert) ช้นั น้ีจะมีการสานใยเชือกฝังตวัอยใู่ นยางโดยรอบเป็น
ช้นั ที่แขง็แรงทนทานต่อแรงดึงสูง เพื่อใช้ในการต้านทานแรงดันของอากาศอัดภายใน
ท่อและยดืหยนุ่ ตวัไดด้ี
3. ชั้นเปลือกนอก (Outside Cover) เป็นช้นั ที่ห่อหุม้ ท่อภายในและช้นั ใยเชือกผวิจะ
สัมผสักบัอากาศภายนอกและวตัถุต่าง ๆ ดงัน้นั ช้นเปลือกนอกจึง ั เป็ นยางที่สามารถ
ตา้นทานต่อการถูกขีดข่วน ทนต่อน้า น้า มนั และสารเคมีต่างๆ ไดด้ี
สายยางที่ใชใ้นงานพน่ สีสามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 2 ประเภท คือ
1. สายยางที่ใชก้ บัอากาศอดั ควรมีส่วนผสมของโครงสร้างดงัน้ี
? ท่อภายใน ควรทา จากยางไนไตร หรือเรียกวา่ ยางบูนา
? ช้นั สอดใยเชือกควรใชแ้พรเทียมสานอยภู่ ายในยางเพื่อเป็ นการเสริมแรง
เพิ่มกา ลงัและทา ใหผ้ นงัของท่อทนต่อแรงดึงสูงได้
? ช้นั เปลือกนอกควรใชย้างชนิดนีโอพรีน หรือยางธรรมชาติมีผวิเรียบ
และมีสีแดง
? ขอ้ ต่อเขา้กบักาพน่ สีควรใชข้อ้ ต่อที่ทา จากทองเหลือง
สายยางสา หรับอากาศอดัน้ีสามารถนา ไปใชพ้ น่ สีไดก้ บักาพน่ สีแบบซกั ชนั ฟีด(Suction
Feed) และแบบเพรสเชอร์ฟี ด (Pressure Feed) โดยไม่เกิดการบวมหรือเปื่อย นิยมน าไปใช้ในการ
พน่ สีโดยต่อเขา้กบักาพน่ สีมีขนาดของรูภายในโตประมาณเศษ 5 ส่วน 10 นิ้ว(8 มม.) ความยาวที่
นิยมนา ไปใชก้ นั มากที่สุด มีความยาวระหวา่ ง 25-50 ฟุต แต่ถา้เป็นการพน่ สีงานชิ้นเล็ก ๆ หรือใช้
กบัการพน่ สีขนาดเล็กก็ควรใชส้ ายยางที่มีรูภายในขนาดเศษ 1 ส่วน 4 นิ้ว(6มม.)และใชค้วามยาม
ไม่เกิน 12 ฟุต
รูปที่1.23แสดงลักษณะโครงสร้างภายในของสายยาง
2. สายยางที่ใช้เป็ นทางเดินของสีหรือของเหลวยางที่ใชท้ า ผนงัของท่อ ตอ้งตา้นทานต่อ
สารทา ละลาย ต่าง ๆ ไดด้ีเช่น สีอะคริลิกแล็กเกอร์สีอีนาเมลและสารเคมีต่าง ๆ ที่เป็นของเหลว
ท่อยางชนิดน้ีนา ไปใชเ้ป็นทางเดินของสีกาพน่ สีแบบเพรสเชอร์ฟีดการใชง้านของสายยางชนิดน้ี
จะใช้สายยางที่ยาว เนื่องจากบริเวณพ่นสีกบัถงับรรจุสีอยหู่ ่างกนั
โดยทวั่ ไปความยาวที่นิยมใชก้ ็คือความยาวระหวา่ ง 25-50 ฟุต เหมาะสา หรับการพน่ สีใน
โรงงานขนาดใหญ่ที่มีการพ่นสีจา นวนมากความโตของท่อภายในที่นิยมใชค้ือเศษ 3 ส่วน 8 (10
มม.)และเศษ 5 ส่วน 16 นิ้ว(8 มม.)
ท่อที่ใชเ้ป็นทางเดินของลม ใชส้ ัญลกัษณ์สีแดง ส่วนที่ใชเ้ป็นทางเดินของสีใช้
สัญลักษณ์สีด าอยา่ นา ท่อทางเดินของลมมาใชเ้ป็นทางเดินของสีแต่สามารถใชท้ ่อ
ทางเดินของสีไปใช้เป็ นทางเดินของลมได้ การใชท้ ่อยางควรคลายออกมาใชง้าน
และเก็บในลกัษณะมว้นไว้เมื่อทา งานพน่ สีเสร็จเรียบร้อยแลว้
เคร่อ
ื
งขด
ั
สี
เครื่องขัดสี เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการผอ่ นแรงแก่ผปู้ ฏิบตัิงาน มี2 ประเภท คือ
1. เครื่องขัดกระดาษทราย เป็ นการขัดหยาบใช้ส าหรับขัดผิวโลหะ หรือขัดสีโป๊ วให้เรียบ
สามารถถอดเปลี่ยนกระดาษทรายไดท้ ้งักระดาษทรายหยาบและกระดาษทรายละเอียด มีท้งัแบบใช้
กระแสไฟฟ้ าเป็ นพลังงานในการหมุนและแบบใช้ลมความดันสูงดังแสดงในรูปขา้งล่างน้ี
รูปท1ี่ .24ขอ้ ต่อและเหลก็รัดท่อลม รูปท1ี่ .25 ขอ้ ต่อแบบปลดได้
หมายเหตุ:
2. เครื่องขดัผา้ใชข้ดัสีที่พน่ สา เร็จแลว้ เพื่อขจดัละอองสีที่แหง้กลางเกาะติดอยบู่ นผิวงาน
ใหเ้กิดความเงางาม โดยใชร้่วมกบัครีมขดั ซ่ึงในข้นั ตอนแรกเมื่อสีแหง้ใหม่ๆ ควรขดัหยาบก่อน
จากน้นัจึงตามดว้ยการขดัละเอียด
นอกจากน้ีเครื่องมืออุปกรณ์งานสียงัมีหลายชนิดเช่น กาพน่ สีหินขดัและผา้สักหลาดฯลฯ
ซ่ึงรายละเอียดจะไดก้ล่าวถึงในบทต่อไป
แบบประเมินผลการเรียนรู้
หน่วยที่ 1
ตอนที่1จงตอบคา ถามต่อไปนีใ้ห
้
ถูกต
้
อง
1.คอ้นข้ึนรูปที่ใชอ้ยโู่ ดยทวั่ ไปมีอะไรบา้งและมีวธิีการทา งานอยา่ งไร
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
(ก) เครื่องขัดแบบไฟฟ้ า
รูปท1ี่ .26 แสดงลักษณะของเครื่องขัดกระดาษทราย
(ข) เครื่องขัดแบบใช้ลม
รูปท1ี่ .27 แสดงลักษณะการใช้เครื่องขัดผ้า
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
2. การใชค้อ้นที่ถูกตอ้งมีวธิีการอยา่ งไร
???????????????????????????????????????.
???????????????????????????????????????.
???????????????????????????????????????.
???????????????????????????????????????
3. การทา งานของเครื่องอดัอากาศแบบข้นั ตอนเดียวมีวธิีการทา งาน คือ
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
4. หน้าที่ของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ คือ
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
5. เครื่องขดักระดาษทรายกบั เครื่องขดัผา้มีความแตกต่างอยา่ งไร
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
ตอนที่2 จงเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.ขอ้ใดไม่จดัอยใู่ นกลุ่มของคอ้นเคาะข้ึนรูป
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนปลายแหลม
2.คอ้นที่ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบใชข้้ึนสันแนวตรงคือ
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนปลายแหลม
3. ค้อนชนิดใดใชเ้คาะไม่ให้โลหะแผน่ ยดืตวั
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนไม้
4..คอ้นชนิดใดใชร้องรับชิ้นงานขณะตีดว้ยคอ้น
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนไม้
5. จุดประสงคข์องการเคาะข้ึนรูป คือ
ก. เคาะโลหะใหไ้ดรู้ปร่างใหม่ ข. เคาะโลหะใหไ้ดช้ิ้นงานเพิ่มข้ึน
ค.เคาะรอยบุบให้คืนสภาพเดิม ง. เคาะโลหะเป็ นแบบของงาน
6.คอ้นที่มีลกัษณะเป็นกา้นเหล็กสอดอยใู่ นแท่งเหล็กที่เจาะรูไว้ส่วนปลายงอคือ
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อยปลายแหลม
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนกระตุก
7. การจับค้อนที่ถูกต้องดา้มคอ้นควรเอียงทา มุมกบั แขนประมาณ
ก. 60 องศา ข. 90 องศา
ค. 120 องศา ง. 135 องศา
8. การเคาะข้ึนรูปใหใ้ชแ้รงเคาะมาจากส่วนใด
ก. ข้อศอก ข. ข้อมือ
ค. แขน ง.ไหล่
9. ขอ้ใดไม่จดัอยใู่ นหนา้ที่ของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์
ก. ท าความสะอาดอากาศ ข. น้า ไหลตามท่อดกักรอง
ค. ควบคุมความดันอากาศ ง.ระบายน้า น้า มนั จากวาลว์
10. งานซ่อมสีแล็กเกอร์จะใชค้วามดนั ที่ขอ้ใด
ก. 15-35 ปอนด์/ตารางนิ้ว ข. 20-25 ปอนด/์ตารางนิ้ว
ค. 40-45 ปอนด/์ตารางนิ้ว ง. 45-55 ปอนด/์ตารางนิ้ว
11. สีอัลไคดอ์ีนาเมลพน่ สีคร้ังสุดทายจะใช้ความดันอากาศประมาณ ้
ก. 15-35 ปอนด์/ตารางนิ้ว
ข. 20-25 ปอนด/์ตารางนิ้ว
ค. 40-45 ปอนด/์ตารางนิ้ว
ง. 45-55 ปอนด/์ตารางนิ้ว
12. สายยางอากาศที่ใชง้านกนั มากจะมีความยาวประมาณ
ก. 20-50 ฟุต ข. 25-50 ฟุต
ค. 30-50 ฟุต ง. 35-50 ฟุต
13. ท่อที่ใช้เป็ นทางเดินของสีใช้สัญลักษณ์ คือ
ก. สีแดง ข. สีเหลือง
ค. สีน้า เงิน ง. สีด า
14. เครื่องมือขดัสีที่นิยมใชม้ีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท
15. Air Regulator มีหน้าที่ส าคัญ คือ
ก. ส่งถ่ายอากาศไปยงัหวัฉีด ข. ควบคุมความดันอากาศ
ค.กกัเก็บอากาศ ง.ผสมสีกบัอากาศ
---------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor02.pdf
หน่วยที่ 2
กาพ่นส
----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor03.pdf
หน่วยที่ 3
ชนิดของสีและการเลือกใช้งาน
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor04.pdf
หน่วยที่ 4
การลอกสีและการขัดเตรียมผิวงาน
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor05.pdf
หน่วยที่ 5
การโป๊ วสีและการขัดสีโป๊ ว
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor06.pdf
หน่วยที่ 6
การผสมสี
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor07.pdf
หน่วยที่ 7
การพน่ สีกนั ชนและการปิดกระดาษคลุม
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor07.pdf
หน่วยที่ 8
การขดัสีรถยนตห์ ลงัการพน่ สี
-----------------------------
ผู้สอนรายวิชางานสีรถยนต์
นายนิคม ประทุมมาศ
ครูพิเศษสอนแผนกวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคลำปาง
################
www share.psu.ac.th/blog/sothorn-general/27906
งานซ่อม ปะผุและทำสีใหม่รถบัส ตอนที่ 1
ความรู้ไม่มีที่สิ้นสุด หากเราเป็นน้ำไม่เต็มแก้ว
ตามที่คณะทรัพยากรธรรมชาติ ได้ทำการซ่อมรถบัสคณะฯ 40 ที่นั่ง ทะเบียน 40-0331 จากเงินรายได้คณะฯ 2556 ผมซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ควบคุมงาน ซึ่งต้องควบคุมงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่ได้ตกลงกันไว้ ดังนั้นในการทำงานผมจึงมีคำถามเกิดขึ้นในใจตลอดเวลาว่า ทำอะไรครับ ทำยังไงครับ ทำทำไม ทำนานมั้ย แล้วไม่ทำได้มั้ย และเมื่อผมได้รับคำตอบ ผมก็จะนำคำตอบนั้นมาหาข้อมูลเพิ่มเติมว่าจริงหรือไม่ ซึ่งทำให้ผมมีความรู้มากขึ้นโดยไม่รู้ตัว
โดยขั้นตอนการซ่อมรถบัสคณะฯ จะประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1. ขั้นตอนการลอกสีเก่าออก
1111
จากภาพที่ 1 จะเห็นว่า รถมีรอยสีดำๆ เนื่องจากการลอกสีเก่าออก โดยช่างจะความร้อนในการทำให้สีของตัวรถอ่อนตัว หลังจากนั้นก็จะทำการใช้เครื่องมือขูดสีรถออก เมื่อสีเก่าออกหมดแล้ว ก็จะเห็นส่วนที่ผุของรถ
2. ซ่อมแซมในส่วนที่ผุ
2222
จากภาพที่ 2 จะเห็นว่าช่างได้ทำการซ่อมแซมตัวถังรถในส่วนที่ผุ หลังจากซ่อมแซมตัวถังแล้วช่างจะทำการขัดจนเหล็กเกิดความมันวาว ดังภาพที่ 3
3333
จากภาพที่ 3 จะเห็นว่าเหล็กที่ขัดเกิดความมันวาว เพื่อที่จะช่วยให้งานในขั้นตอนต่อไปคือ การพ่นสีรองพื้นสามารถยึดเกาะกับตัวถังรถได้ดี
จากการแสดงขั้นตอนต่างๆ ของการซ่อมรถบัสคณะฯ ผมคิดว่าทุกท่านที่ได้เข้ามาอ่านคงจะเข้าใจว่าการซ่อมมีขั้นตอนอย่างไร และผมจะนำความรู้ที่ได้จากการควบคุมงานในครั้งนี้มาเล่าให้ฟังในตอนต่อไปครับ
--------------------------------
www thaiautovintage.com/web/classiccars_detail.php?id=285&type=Services
ด้วยประสบการณ์ในการบรูณะรถคลาสสิก เราจึงสามารถบริการได้ทุกอย่างที่นักสะสมต้องการ ตั่งแต่จัดจำหน่ายอะไหล่สำหรับรถคลาสิก สั่งตรงจากต่างประเทศ ซ่อมบำรุงประจำระยะทางสำหรับรถคลาสิก บูรณะรถคลาสิก
In accordance with our experience, we offer a full range services that collectors need for their classic cars such as new and used spare parts, routine maintenance and restoration service.
Mercedes Benz W111 280SE 3.5 Before
เตรียมพบกับNew Project
รถMercedes Benz W111 280SE 3.5 ของคุณเคน ธีรเดช เร็วๆนี้
------------------------------
www fordclub.net/2011/module_view.php?mod=webboard&fn=view&cid=98139
แนะนำอู่ทำสีระบบแห้งช้า2k เคาะ ปะ ผุ เจาะแก้ม ติดตั้งหลังคาซันรูฟ มีรถให้เช่าวันละ350บาท พ่นสีในห้องพ่นมาตรฐานระบบดูดอัด ฝุ่นจึงไม่เกาะผลงานเนียนรับประกันความพอใจ ขายชุดแต่งรอบคันทุกรุ่นพร้อมทำสีขอดูรูปชุด
แนะนำอู่ทำสีระบบแห้งช้า2k เคาะ ปะ ผุ เจาะแก้ม ติดตั้งหลังคาซันรูฟ มีรถให้เช่าวันละ350บาท พ่นสีในห้องพ่นมาตรฐานระบบดูดอัด ฝุ่นจึงไม่เกาะผลงานเนียนรับประกันความพอใจ ขายชุดแต่งรอบคันทุกรุ่นพร้อมทำสีขอดูรูปชุดแต่งได้
ผลงานเทียน่า เปลี่ยนสีจากขาวมุกเดิมของเทียน่า ให้เป็นขาวมุกนิวแคมรี่ ผลงานออกมาสีสว่างสวย (ขาวมุกนิวแคมรี่จะออกสว่างกว่า มุกเยอะกว่า ส่วนขาวมุกเทียน่าจะอมเหลืองๆมุกน้อย)
รูปผลงาน ขั้นตอนหลังจากรื้ออะไหล่โป้วเก็บรอยรอบคันเสร็จ ต่อมารองพื้น แปะกระดาษป้องกันสีเลอะชิ้นส่วนตามขอบ เข้าห้องพ่นเตรียมพ่น

รูปจากห้องพ่น หลังพ่นเสร็จใหม่ๆ

ขั้นตอนประกอบรถ


จากรูปบนก่อนขัดยา
ประกอบเสร็จ

อีกรูป ขาวเดิมเทียน่าด้านขาว เปรียบเทียบกับรูปที่เหลือซึ่งพ่นขาวมุกนิวแคมรี่

การเปลี่ยนหลังคา วิธีการติดตั้งและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมนั้นสำคัญ! อู่เราใช้วิธีการเลาะตามตะเข็บหลังคาและเชื่อมโดยเครื่องเชื่อมco2ในการเชื่อมตัวถังซึ่งเครื่องตัวนี้ช่วยถนอมเหล็กรถ จะไม่ทำให้เหล็กตัวถังที่เชื่อมบาง และจะไม่เกิดสนิมในระยะยาว รอยที่เชื่อมจะเป็นรูปสวย ทำได้ทั้งหลังคาตรงรุ่น หรือแปรงสำหรับหลังคามาไม่ตรงรุ่น (โดยเจาะ)


ตัวอย่างเจาะแก้ม


อู่ เคาะพ่นสี A.P. Garage ทำสีระบบแห้งช้าซึ่งสีที่ออกมาจะเงาสวยเหมือนรถใหม่ป้ายแดง และทนทานอยู่ได้นาน ทีมงานของเราเป็นช่างพ่นสีและช่างผสมสี ที่มีประสบการณ์ยาวนานฝีมือดี สีที่ใช้เป็นสี ดูป๊อง ( dupont) หรือ นกแก้ว แล้วแต่ลูกค้าจะระบุ ราคาตามคุณภาพสีและsizeรถ ซึ่งราคาเริ่มต้นที่15000 รอบคัน
ผลงานแจ๊สเปลี่ยนสีเทาเป็นชมพู เจาะแก้ม ใส่ซันรูฟ




Benz เปลี่ยนหลังคาซันรูฟ ทำสี




รูปผลงาน เบ็นซตากลม เปลี่ยนหลังคาซันรูฟ ทำสี
รื้อเบาะถอดกระจกหน้าหลัง ติดตั้งหลังคา

ลอกหลังคาถึงเหล็ก (กรณีที่พิ้นหลังคามาไม่ดี)ลงด้วยน้ำยาเกาะเหล็กอย่างดียี่ห้อซิกเก้น

ต่อมาโป้ว รองพื้น

พ่นสีจริง

ผลงานซูบูรุ เปลี่ยนสีจากเทาเป็นเหลือง ใส่ซันรูฟ ปะผุรอบคัน
เริ่มจาก เลาะหลังคาเดิมออก ทำการใส่หลังคาซันรูฟ และปะผุรอบคัน

โป้ว รองพื้น


หลังพ่น

รูปผลงาน honda เปลี่ยนหลังคาซันรูฟโดยวิธีแปรงใส่ เนื่องจากหลังคามาไม่ตรงรุ่น และปลี่ยนสีรถจากเทาเป็นแดง ใช้สีแห้งช้าแลคเกอร์ดูป๊อง

รูปติดตั้ง


ผลงานSuburu เปลี่ยนสีจากเดิมขาว เป็นสี ส้มแดง

แจ๊ส เปลี่ยนหลังคาเป็นซันรูฟเริ่มจาก ถอดกระจกหน้าหลัง เลาะตะเข็บหลังคาเกาออก งานเชื่อมด้วยเครื่องco2ป้องกันการเกิดสนิม

เริ่มโป้ว

พื้น

พ่นให้ห้องมตราฐาน ระบบดูดอัด ป้องกันฝุ่นเกาะสี

Toyota wish เปลี่ยนสีจากเทาเป็น ขาวมุก


Toyota wish เปลี่ยนสีจากดำเทามีมุก เป็นสีดำสนิทเบอร0ไม่มีมุก

ยังมี บริการซ่อมเครื่อง ช่วงล่าง
สำหรับรถที่มีประกันภัยชั้น 1 สามารถเครมทำสีได้รอบคัน และ รับซ่อมสีรถประกันตามใบเครม รับงานประกันทุกประกันภัย ค่าเอ็กเซฟเจรจากันได้ ถ้าทางบริษัทประกันของคุณเรียกเยอะ ทางอู่อาจช่วยออกให้ครึ่งนึงของราคาเรียก หรืออาจไม่เก็บ ไม่ดองงาน เน้นคุณภาพ ยินดีรับบัตรเครดิต ลอง โทรปรึกษาได้ tel: 084-452-2489, 081-7213-377,02 892 3944
ห้องพ่น
หรือเมลมาถามรายละเอียดหรือขอดูรูปผลงานที่ suwanu16@hotmail.com
หรือ lineที่ cheez78
สถานที่ตั้ง อยู่ บางบอน 5 ซอยเพชรเกษม 81 หนองแขม กทม
ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่เว็บไซด์
งานสีรถยนต์
-----------------------
หน่วยที่ 1
เคร
่
อ
ื
งม
ื
ออป
ุ
กรณ
์
งานสี
แนวคิด
การใชเ้ครื่องมืออุปกรณ์งานสีเป็นสิ่งจา เป็นพ้ืนฐานสา หรับการพน่ สีใหไ้ดผ้ลงานที่ดี
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ อุปกรณ์ชิ้นส่วนของรถยนตท์ ี่ชา รุดเสียหายใหส้ีที่พน่ ไวถู้กทา ลายจา เป็นตอ้ง
เคาะให้ได้รูปทรงเหมือนเดิม เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใชจ้ึงเป็นองคป์ ระกอบที่สา คญั อยา่ งหน่ึที่จะ
ท าให้งานสีมีความสมบูรณ์สวยงาม จ าเป็ นที่ผู้ใช้จะต้องเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้ถูกต้อง
เหมาะสมกบั ชนิดของงานสี
สาระการเรียนรู้
1. เครื่องมือเคาะข้ึนรูป 5. การปรับความดันอากาศเพื่อน าไปใช้งาน
2. วิธีการเคาะข้ึนรูป 6. สายยาง
3. เครื่องอัดอากาศ 7. เครื่องขัดสี
4. เครื่องควบคุมความดันอากาศอัด
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายเครื่องมือเคาะข้ึนรูปได้
2. อธิบายวธิีการเคาะข้ึนรูปได้
3. อธิบายการท างานเครื่องอัดอากาศได้
4. อธิบายการทางานเครื่องควบคุมความดันอากาศได้
5. อธิบายการเลือกใช้สายยางน าไปใช้งานได้
6. อธิบายเครื่องมือเครื่องขัดสีได้
7. วเิคราะห์เลือกใชเ้ครื่องมือเคาะข้ึนรูปได้
8. ปฏิบตัิการเคาะข้ึนรูปได้
9. ปฏิบัติการการใช้เครื่องขัดสีได้
เคร่อ
ื
งม
ื
อเคาะข้ึ
นรูป
เครื่องมือที่ใชใ้นการเคาะข้ึนรูปโลหะแผน่ เป็นเครื่องมือเฉพาะงาน เป็นเครื่องมือพ้ืนฐานที่
ใชใ้นการเคาะข้ึนรูปที่ช่างสีรถยนตจ์ะตอ้งมีความรู้และมีทกัษะในการใช้เครื่องมือเคาะข้ึนรูปจะมี
ลกัษณะแตกต่างจากเครื่องมืออื่น ๆ จึงไม่ควรนา เครื่องมือเคาะข้ึนรูปไปใชใ้นงานทวั่ ไป เช่น คอ้น
เคาะข้ึนรูปไม่ควรนา ไปใชเ้คาะตีหรือดดัเหล็กเส้นทวั่ ไป เป็นตน้ เครื่องมือเคาะข้ึนรูปมีลักษณะการ
ใชง้านดงัน้ี
1.ค้อนเคาะขึน้ รูป ใชส้ า หรับเคาะข้ึนรูปแผน่ โลหะ มีดงัน้ี
1.1คอ้นปลายขวางคอ้นชนิดน้ีหัวของค้อนมีลักษณะกลม ปลายของค้อนมี
ลกัษณะแบนขวางกบัดา้มคอ้น ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบและใชเ้คาะข้ึนสันแนวขวาง
1.2คอ้นปลายตรงคอ้นชนิดน้ีหวัของคอ้นมีลกัษณะกลม ปลายของคอ้นมีลกัษณะ
แบนอยใู่ นแนวตรงกบัดา้ม ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบและข้ึนสันแนวตรง
1.3คอ้นปลายแหลม คอ้นชนิดน้ีหวัของคอ้นมีลกัษณะกลม ปลายของค้อนมี
ลกัษณะแหลม ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบและใชเ้คาะรอยนูนเล็ก ๆ
1.4คอ้นไม้หวัคอ้นท้งัสองดา้นมีลกัษณะกลม ทา จากไมเ้น้ือแขง็ ใชเ้คาะเบา ๆ
เพื่อไม่ใหแ้ผน่ โลหะยดืตวั
รูปท1ี่ .1แสดงลกัษณะของคอ้นข้ึนรูปชนิดต่าง ๆ
2. ค้อนตู๊เป็นคอ้นที่ไม่ใชต้ีแต่ใชร้องรับชิ้นงานขณะทา การตีดว้ยคอ้น ค้อนตู๊มีขนาดและ
รูปร่างที่แตกต่างดงัน้นั ผปู ฏิบตัิงานตอ้งเลือกใชใ้หเ้หมาะสมกบัขนาดและรูปร่างของชิ้นส่วน
3. ช้อนรองการเคาะข้ึนรูปพ้ืนที่บางแห่งที่แคบ ๆ เช่น ในซอกหลืบของรถยนต์บางคร้ังไม่
สามารถที่จะใชม้ือสอดเขา้ไปดา้นใน จึงจา เป็นตอ้งใชเ้ครื่องมืออื่นนอกจากคอ้นตู๊นนั่ ก็คือชอ้ นรอง
ซึ่งใช้ส าหรับสอดเข้าไปในซอกหลืบเพื่อรองรับชิ้นงานขณะทา การเคาะดว้ยคอ้น
4. ค้อนกระตุก มีลกัษณะเป็นกา้นเหล็กสอดอยใู่ นแท่งเหล็กที่เจาะรูไว้ส่วนปลายงอไว้
สา หรับเกี่ยวเมื่อกระตุกแท่งเหล็กมาดา้นหลงัจะเกิดแรงดึงถอยหลงั ใชส้ า หรับกระตุกดึงชิ้นงานที่
บุบ โดยที่ไม่สามารถใชค้อ้นเคาะออกมาจากด้านในได้
ลกัษณะของคอ้นตูแ๊บบต่าง ๆ ลักษณะของช้อนรอง
รูปท1ี่ .2แสดงลักษณะของค้อนตู๊และช้อนรอง
รูปท1ี่ .3แสดงลักษณะของค้อนกระตุก
วธิีการใชเ้ครื่องมือเคาะข้ึนรูปมีหลกัการใชด้งัน้ี
1. การจับค้อน
? ควรจับให้ด้ามคอ้นเอียงทา มุมกบัแขนประมาณ 120องศา
? ควรจบัให้***งจากส่วนปลายของดา้มคอ้นประมาณ 10-20 มม.
? ใชน้ ิ้วมือกา ดา้มคอ้นโดยใหเ้หลือช่องวา่ งระหวา่ งดา้มคอ้ นกบัอุง้มือไว้
2.การจับค้อนตู๊ควรวางคอ้นตูไ๊วใ้นอุง้มือและประคองไม่ใหค้อ้นตู๊ขยบั ตวัดว้ยนิ้วท้งัหา้
และงอขอ้มือใหค้อ้นตูท๊า มุมกบัขอ้มือประมาณ 15องศา
3. การใช้แรงในการเคาะการเคาะข้ึนรูปน้นั ใหใ้ชแ้รงเคาะมาจากขอ้ศอกไม่ควรใชแ้รงเคาะ
ที่มาจากข้อมือและจากไหล่การเคาะต้องควบคุมให้ค้อนสัมผัสผิวงานเต็มหน้าการเอียงหัวค้อน
ขณะเคาะจะทา ใหไ้ดร้อยเคาะที่ไม่สม่า เสมอ
รูปท1ี่ .4แสดงวิธีการจับค้อนเคาะข้ึนรูป
รูปท1ี่ .5แสดงวิธีการจับค้อนตู๊
วธ
ิี
การเคาะข
้
ึ
นร
ู
ป
การเคาะข้ึนรูปที่จะกล่าวต่อไปน้ีไม่ใช่การเคาะข้ึนรูปชิ้นงานข้ึนมาใหม่แต่เป็นการเคาะข้ึนรูปเพื่อ
ซ่อมชิ้นงาน หรือชิ้นส่วนของรถยนตท์ ี่เกิดรอยบ้ีหรือบุบใหค้ืนสู่สภาพดงัเดิม
1.การเคาะบนค้อนตู๊กรณีเกิดรอยบุบขนาดเล็กเขา้ไปดา้นในหรือเกิดรอยนูนออกมาด้าน
นอก สามารถใช้ค้อนตู๊รองรับ และเคาะให้คืนสภาพดังเดิมด้วยค้อน
รูปท1ี่ .6แสดงวิธีการเคาะและการสัมผัสของหน้าค้อน
รูปท1ี่ .7แสดงวธิีการเคาะข้ึนรูปรอยบุบและรอยนูน
2.การเคาะนอกค้อนตู๊กรณีเกิดรอยยบุ ตวัเป็นพ้ืนที่กวา้ง ๆ สามารถใชค้อ้นตูร๊องรับรอย
บุบดา้นในและใชค้อ้นเคาะรอยนูนดา้นนอกโดยที่คอ้นและคอ้นตูอ๊ยคู่ นละตา แหน่งกนั รอยบุบจะ
ถูกกระแทกจากค้อน และถูกดันจากค้อนตู๊กลับคืนรูปเดิม
การเคาะพ้ืนที่ที่เสียรูปสามารถทา ใหค้ืนรูปดังเดิมได้โดยการเคาะส่วนที่นูนสูงกวา่ เดิมน้นั
จะตอ้งเคาะลง ในขณะเดียวกนั ส่วนที่ต่า น้นัจะตอ้งกนัออกมา พ้ืนที่ที่เสียรูปน้นัจะคืนรูปดงัเดิม
การซ่อมตวัถงัรถยนต์บางคร้ังไม่สามารถใชค้อนดันด้านในได้ขณะท าการเคาะคืนรูป กรณี ้
น้ีสามารถแกไ้ขไดโ้ดยการเชื่อมแหวนใหต้ิดที่ผวิดา้นนอกจากน้นัจึงใชข้อเกี่ยวดึงขณะท าการเคาะ
รูปท1ี่ .8แสดงวิธีการใช้ค้อนเคาะนอกค้อนตู๊ รูปท1ี่ .9แสดงวิธีการเคาะรอยบุบที่มีขนาดใหญ่
รูปท1ี่ .10 แสดงวิธีการเคาะคืนรูปพ้ืนที่ที่เสียรูปมาก
เครื่องอัดอากาศ
เครื่องอัดอากาศ (Air Compressor) หรือเรียกกนั ทวั่ ไปวา่ ปั๊มลม เป็นอุปกรณ์ที่สา คญั ใน
งานพน่ สีเพราะความเร็วสูงของอากาศที่ถูกปล่อยมาจากเครื่องอดัอากาศจะช่วยดนั หรือดึงใหส้ีพน่
ออกมาจากกระป๋องสีเป็นสเปรย์เครื่องอดัอากาศน้ีจะทา หนา้ที่อดัอากาศจากอากาศที่มีความดนั
อากาศปกติ ที่ 14.7 ปอนด/์ ตารางนิ้วโดยการดูดเขา้ไปทางท่ออากาศที่ถูกดูดเขา้และถูกอดัแน่นอยู่
ในถงัซ่ึงมีพ้ืนที่จา กดั อากาศที่ถูกอดัจะมีปริมาตรเล็กลง เมื่ออากาศถูกอดัเขา้ไปในถงัเพิ่มมากข้ึน
ความดนั ในถงัก็จะสูงข้ึนตามปริมาตรของอากาศเมื่อได้ระดับความดันของอากาศตามต้องการแล้ว
สวติซ์ก็จะถูกตดัใหเ้ครื่องอดัอากาศหยดุ ทา งาน อากาศอดัจะถูกปล่อยเพื่อนา ไปใชง้านสีโดยจะ
ไหลไปตามท่อ นิยมนา ไปใชง้านอยา่ งกวา้งขวาง สรุปขอ้ดีของเครื่องอดัอากาศไดด้งัน้ี
1. ประหยัดแรงงานและมีความทนทานสูง
2. มีความปลอดภยัสูง มีตวัควบคุมความดนั ภายในถงัเพื่อป้องกนัการใชง้านเกินกา ลงั
3. ใช้งานได้สะดวก เพราะสามารถควบคุมอัตราความเร็วของลมและความดนัไดง้่าย
4. เก็บอากาศไวใ้ชง้านไดง้่ายโดยเก็บอากาศไวใ้นถงัเก็บอากาศได้
5. ไม่มีมลพิษกบัอากาศที่จดัเก็บ อากาศที่ใชแ้ลว้สามารถปล่อยออกสู่บรรยากาศไดเ้ลย
เครื่องอดัอากาศมีหลายชนิดแต่ละชนิดไดถู้กแบ่งแยกตามลกัษณะการปั๊มอากาศเขา้ไปอดัเก็บไว้
ภายในถัง
รูปท1ี่ .11 แสดงวิธีการเชื่อมแหวนและดึงแหวนขณะเคาะให้คืนรูป
จะเห็นไดว้า่ เครื่องอดัอากาศสามารถออกแบบลกัษณะของการดูดอดัเพื่อเก็บอากาศเขา้ไว้
ในถงั โดยทวั่ ไปมี2 ชนิดคือ
1.เครื่องอดัอากาศแบบลูกสูบ (Piston Type Air Compressor) เครื่องอดัอากาศชนิดน้ีนิยม
ใชก้ นัอยา่ งแพร่หลายในปัจจุบนั สามารถอดัอากาศไดท้ ้งัความดนั ต่า ความดนั ปานกลางจนกระทงั่
ถึงความดันสูง เครื่องอดัอากาศแบบลูกสูบน้ีแบ่งออกเป็น 2 ชนิดดงัน้ี
1.1เครื่องอดัอากาศแบบข้นั ตอนเดียว หรือลูกสูบเดียวเป็ นเครื่องอัดอากาศชนิด
ความดนั ต่า มีลูกสูบเพียงลูกเดียว สามารถอดัอากาศไดเ้ป็นอยา่ งดีที่ความดนั 100 ปอนด/์ ตารางนิ้ว
รูปท1ี่ .12แสดงลกัษณะของการดูดอดัอากาศเขา้เก็บไวใ้นถงัของเครื่องอดัอากาศ
(PSI) โดยเพลาขอ้เหวยี่ งน้ีทา ใหลู้กสูบข้ึนลงได้ขณะที่เพลาหมุน 1รอบ จะทา ใหลู้กสูบถูกดนัข้ึน
และดึงลง 1คร้ังจะทา ใหเ้กิดจงัหวะดูดและอดัของลิ้นปิด-เปิดเพียง 1คร้ังเช่นเดียวกนั แต่ถา้ความ
ดนั เกินกวา่ 100 ปอนด์/ ตารางนิ้วเครื่องอดัอากาศจะไม่สามารุทา การอดัได้
1.2 เครื่องอดัอากาศแบบสองข้นั ตอน หรือเครื่องอดัอากาศชนิด2ลูกสูบ เป็ น
เครื่องอดัอากาศที่มีแรงดนั สูง เครื่องอดัอากาศแบบน้ีจะมีลูกสูบ 2ลูกเมื่อเพลาขอ้เหวี่ยงหมุน 1
รอบ ลูกสูบท้งัสองจะทา หนา้ที่อดัอากาศเขา้เก็บไวภ้ายในถงั สามารถอดัอากาศเมื่อมีความตอ้งการ
แรงดนั ที่สูงกวา่ 100 ปอนด์/ ตารางนิ้วเหมาะสา หรับงานพน่ สีขนาดใหญ่งานนิวเมติก และงาน
หนกัทวั่ ๆ ไป
2. เครื่องอัดอากาศแบบแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm Type Compressor) เครื่องอัด
อากาศแบบน้ีจดัอยใู่ นประเภทเครื่องอดัอากาศแบบลูกสูบชนิดหน่ึง เพียงแต่ห้องอดัอากาศกบั
ลูกสูบจะถูกคนั่ ไวด้ว้ยแผน่ ไดอะแฟรม ใช้พลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้า เมื่อแผน่ ไดอะแฟรมที่ติดกบั
ลูกสูบเคลื่อนลงอากาศจะถูกดูดเขา้มาจนเตม็ หอ้งอดั และเมื่อแผน่ ไดอะแฟรมเลื่อนข้ึน อากาศก็จะ
ถูกอดัผา่ นวาลว์ เขา้ไปยงัถงัเก็บลม อากาศที่ไดจ้ากเครื่องอดัอากาศประเภทน้ีจะสะอาดปราศจาก
น้า มนัและสิ่งสกปรกต่าง ๆ
เครื่องอดัอากาศแบ่งตามลกัษณะของการใชพ้ลงังานขบั เคลื่อน แบ่งออกไดเ้ป็น เครื่องอดั
อากาศที่ใช้พลังงานขับเคลื่อนลูกสูบด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ า และเครื่องอัดอากาศที่ใช้พลังงานขับเคลื่อน
ลูกสูบด้วยเครื่องยนต์ซ่ึงมีท้งัชนิดเครื่องยนตเ์บนซินและเครื่องยนตด์ีเซลเครื่องอดัอากาศชนิดน้ีได้
ออกแบบใหม้ีการติดต้งัลอ้ไวเ้หมาะสา หรับเคลื่อนยา้ยใชง้านนอกสถานที่หรือสถานที่ที่ไม่มีไฟฟ้า
ใช้ส่วนเครื่องอดัอากาศแบบใชพ้ลงังานในการส่งกา ลงัจากมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องอดัอากาศชนิดน้ีใช้
งานไดเ้ร็ว สะดวกเหมาะสา หรับติดต้งัในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรมทวั่ ไป
รูปท1ี่ .15แสดงลักษณะการท างานของแผน่ ไดอะแฟรมของเครื่องอัดอากาศ
อากาศเมื่อถูกอดัแน่นอยใู่ นถงั โมเลกุลจะถูกบีบใหเ้ล็กลงจะเกิดความเยน็และ
กลนั่ ตวัเป็นหยดน้า อยภู่ ายในถงัและจะไหลอออกมาตามท่อดงัน้นัควรปล่อย
วาลว์ ปิด/เปิด บริเวณกน้ถงั เพื่อปล่อยน้า ออกทิ้งทุกคร้ังก่อนมีการพน่ สี
เคร่อ
ื
งควบคุมความดันอากาศอัด
เครื่องควบคุมความดันอากาศอดั (Air Regulator) จะท าหน้าที่ควบคุมความดันอากาศที่จะ
ออกมาจากเครื่องอัดอากาศให้มีความดันใช้งานคงที่ตลอดเวลาขณะเดียวกนัก่อนที่อากาศอดัจะ
ผา่ นตวัควบคุมความดนั น้นั ตอ้งผา่ นตวักรองอากาศเพื่อทา ความสะอาดอากาศที่ผา่ นมาเสียก่อน
รูปท1ี่ .16แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของปั๊มลม
หมายเหตุ:
รูปท1ี่ .17 แสดงให้เห็นวาล์วส าหรับปล่อยน้า ทิ้ง ซ่ึงอยบู่ ริเวณกนัถงัของเครื่องอดัอากาศ
โดยมีน้า จากในถงัที่ไหลมาตามท่อถูกดกัอยใู่ นตวักรองอากาศน้ีดว้ยเครื่องควบคุมความดนั น้ีจะมี
เกจวดัเพื่อใชใ้นการกา หนดและตรวจสอบความดนัขณะนา อากาศไปใชง้าน
แอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ (Air Transformer) เป็ นชุดที่มีการน าเอาตัวกรองอากาศ และตัว
ควบคุมความดนัอากาศเขา้ไวด้ว้ยกนั ทา ใหป้ ระหยดัเน้ือที่สะดวกในการติดต้งัและง่ายต่อการใช้
งาน สรุปหนา้ที่ของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ไดด้งัน้ี
1. ท าความสะอาดอากาศอดั เช่น กรองฝุ่นละออง น้า น้า มนั และสิ่งสกปรกที่มาจาก
เครื่องอัดอากาศ ฯลฯ
2. ควบคุมความดันอากาศใหม้ีความกนัออกไปใชง้านอยา่ งสม่า เสมอ
รูปท1ี่ .18 แสดงภาพของเครื่องกรองอากาศและเครื่องควบคุมความดัน
แสดงให้เห็นเส้นทางการไหลของอากาศอัด
รูปท1ี่ .19 แสดงเครื่องควบคุมความดนัและเครื่องกรองอากาศและน้า ที่ติดต้งัไว้
ก่อนเขา้เครื่องควบคุมความดัน และหลังจากออกจากเครื่องควบคุมความดัน
3. สะดวกในการจ่ายอากาศอดัออกไปใชง้าน สามารถต่อท่อออกไปใชง้านไดห้ลายท่อ
4. สามารถระบายน้า น้า มนั และสิ่งสกปรกออกจากวาลว์ ซ่ึงอยบู่ ริเวณดา้นใตข้องเครื่อง
รูปท1ี่ .20แสดงลักษณะของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์
รูปท1ี่ .21แสดงการต่อระบบทางเดินของอากาศอดัอยา่ งง่าย
การปรับความดน
ั
อากาศเพอ่ื
น
าไปใช้งาน
การปรับความดันของอากาศอัดจะข้ึนอยกู่ บัลกัษณะของงานที่ใช้ซึ่งจะใช้ความดันของ
อากาศอดัที่แตกต่างกนั งานพน่ สีจะมีการปรับความดนั ใชง้านที่เหมาะสมดงัน้ี
? งานซ่อมสีแล็กเกอร์จะใช้ความดัน 30-35 ปอนด์/ ตารางนิ้ว
? งานพน่ สีแล็กเกอร์ทบักนัจา นวนหลายช้นัก่อนพน่ สีช้นั สุดทา้ยจะใชค้วามดนั 10-
45 ปอนด์/ ตารางนิ้ว
? งานพน่ สีแล็กเกอร์คร้ังสุดทา้ยจะใช้ความดันต ่าประมาณ 20-25 ปอนด/์ ตารางนิ้ว
? สีอะคริลิกอีนาเมล ช่วงที่ตอ้งพน่ ทบักนั หลายช้นั เพื่อเพิ่มความหนาใหก้ บั สีก่อนก
สนพน่ สีคร้ังสุดทา้ยจะใชค้วามดนัอากาศในการพ่นสีประมาณ 45-65 ปอนด์/
ตารางนิ้ว
? สีอลัไคดอ์ีนาเมลเมื่อนา ไปใชพ้ น่ ชิ้นงานก่อนทา การพน่ สีสา เร็จคร้ังสุดทา้ยจะใช้
ความดันอากาศประมาณ 45-55 ปอนด์/ ตารางนิ้ว
การเลือกใชท้ ่อลมใหเ้หมาะสมกบัขนาดแรงมา้ของมอเตอร์และความสามารถในการบรรจุ
อากาศของเครื่องอัดอากาศ ผู้ปฏิบัติงานต้องพิจารณาเลือกใชท้ ่อใหถู้กตอ้งและมีขนาดที่เหมาะสม
กบัแรงมา้ของเครื่องอดัอากาศและปริมาตรของอากาศที่สามารถบรรจุไดใ้นถงัตามตารางดงัต่อไปน้ี
ตารางที่1.1แสดงขนาดของท่อลมต่า สุดที่เหมาะสมกบัขนาดของเครื่องอดัอากาศ
ความสามารถของเครื่องอัดอากาศ ระยะการเดินทางของอากาศ
ขนาด
(แรงม้า)
ความสามารถปล่อยอากาศ
(ลูกบาศก์เมตร)
ความยาว
(ฟุต)
ขนาด
(นิ้ว)
1 ? 6-9 มากกวา่ 50 3/4
รูปท1ี่ .22แสดงการติดต้งัเครื่องอดัอากาศ ท่อทางเดินของอากาศดนั
และตัวแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ใช้งานหลายจด
3 และ 5 12-20 จนกระทงั่ ถึง200
มากกวา่ 200
3/4
1
5-10 20-40 จนกระทงั่ ถึง100
มากกวา่ 100 ? 200
มากกวา่ 200
3/4
1
1 1/4
10-15 40-60 จนกระทงั่ ถึง100
มากกวา่ 100 ? 200
มากกวา่ 200
1
1 1/4
1 1/2
ที่มา : ข้อมูลของบริษัท De Vibiss, Clive H. Hare. Paintingof Steel Bridges and Other Structures. New
York, Van Nostrand Reinhold International Company Limited: 1990. p. 118
จากตารางที่ 1.1 จะเห็นวา่ ถา้เครื่องอดัอากาศมีขนาด1 เศษ 1 ส่วน 2และ2แรงมา้
สามารถปล่อยอากาศอดัไดป้ ริมาตร6-9 คิวบิกฟุต/ นาที (CFM)แลว้ ถา้ความยาวของท่อหลกัที่ใชมี้
ความยาวท้งัหมดเกินกวา่ 50 ฟุตแลว้ ควรเลือกใชท้ ่อหลกัในการเดินมีขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ลาง 3
ส่วน 4 นิ้ว(19 มม.)
ความดันของอากาศอัดที่หายไป ความดันของอากาศอัดจะขาดหายไประชุดทรานส์ฟอร์
เมอร์กบักาพน่ สีความดนัอากาศอดัจะขาดหายไป 6 ปอนดต์ ่อทุก ๆ ความยาวของสายยาง 25 ฟุต
เช่น ความดนั ที่46 ปอนด/์ตารางนิ้วเมื่อวัดความดันที่บริเวณกาพน่ สีจะเหลือเพียง 40 ปอนด์/
ตารางนิ้วเท่าน้นั ดงัน้นั การปรับความดนั ที่แอร็ทรานส์ฟอร์เมอร์ตอ้งปรับเผอื่ ไวใ้หม้ ากกวา่
เพื่อใหไ้ดร้ะดบัความดนั ที่ถูกตอ้ง เหมาะสมตรงบริเวณกาพน่ สีตามตารางที่1.2ดงัน้ี
ตารางที่1.2แสดงความดนัอากาศอดัที่กาพน่ สี
ความโตของรูสายยาง
(ส้นผ่าศูนย์กลาง)
ความดันอ่านได้ที่
ทรานส์ฟอร์เมอร์
ความดันที่กาพ่นสีซึ่งจะเปลี่ยนตาม
ความยาวของสายยาง (ฟุต)
ปอนด์ 5 10 15 20 25 50
5/16 นิ้ว 30 29 28/12 28 27/12 27 23
40 38 37 37 37 36 32
50 47 48 46 46 45 40
60 57 56 55 55 54 49
70 66 65 64 63 63 57
80 75 74 73 72 71 66
90 84 83 82 81 80 57
1/4 นิ้ว 30 26 24 23 22 21 9
40 34 32 31 29 27 16
50 43 40 38 36 34 22
60 51 48 46 43 41 29
70 59 56 53 51 48 36
80 68 64 61 58 55 43
90 76 71 68 65 61 51
ที่มา : ข้อมูลของบริษัทดูปองต์ (Du Pont Company) Clive H. Hare. Painting of Steel Bridges and other
Structures. . New York, Van Nostrand Reinhold International Company Limited: 1990. p. 121
จากตารางที่1.2จะเห็นวา่ ถา้ใชส้ ายยางที่มีขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ลางของรูเศษ 1 ส่วน 4 นิ้ว(6
มม.)อ่านความดันที่แอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ได้60 ปอนด/์ตารางนิ้ว สายยางยาว15 ฟุต จะเหลือความ
ดนั ที่กาพน่ สีเพียง 46 ปอนด/์ตารางนิ้วเท่าน้นั
สายยาง
สายยาง (Hose) เป็นท่อที่ใชใ้นการลา เลียงอากาศอดัหรือสีออกไปยงักาพน่ สีโดยทวั่ ไป
สายยางที่ใชใ้นการพน่ สีจะมี2 ชนิดคือ สายยางที่ใชเ้ป็นทางเดินของอากาศอดั และสายยางที่ใช้
เป็ นทางเดินของสีหรือของเหลวการออกแบบโครงสร้างใหม้ีท้งัชนิดใยเชือก1 ช้นั สา หรับความดนั
ใชง้านที่ไม่สูงมากนกั หรือชนิดใยเชือก2 ช้นั สา หรับสายยางที่ตอ้งการแรงดนั สูง ท่อยางที่จะ
นา มาใชใ้นงานพน่ สีน้ีจะตอ้งผา่ นกรรมวธิีทางเคมีโดยการนา น้า ยางไปผสมกบักา มะถนัและนา ไป
เคี่ยวหรืออบ เพื่อใหม้ีคุณสมบตัิทางกลและทางเคมีดีข้ึน
โครงสร้างของสายยางควรมีคุณสมบตัิดงัน้ี
1. ท่อภายใน (Inner Tube) โครงสร้างส่วนน้ีตอ้งตา้นทานต่อสารทา ละลายได้ทนต่อ
แรงดันและอุณหภูมิสูงได้
2. ชั้นสอดใยเชือก (Braid Insert) ช้นั น้ีจะมีการสานใยเชือกฝังตวัอยใู่ นยางโดยรอบเป็น
ช้นั ที่แขง็แรงทนทานต่อแรงดึงสูง เพื่อใช้ในการต้านทานแรงดันของอากาศอัดภายใน
ท่อและยดืหยนุ่ ตวัไดด้ี
3. ชั้นเปลือกนอก (Outside Cover) เป็นช้นั ที่ห่อหุม้ ท่อภายในและช้นั ใยเชือกผวิจะ
สัมผสักบัอากาศภายนอกและวตัถุต่าง ๆ ดงัน้นั ช้นเปลือกนอกจึง ั เป็ นยางที่สามารถ
ตา้นทานต่อการถูกขีดข่วน ทนต่อน้า น้า มนั และสารเคมีต่างๆ ไดด้ี
สายยางที่ใชใ้นงานพน่ สีสามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 2 ประเภท คือ
1. สายยางที่ใชก้ บัอากาศอดั ควรมีส่วนผสมของโครงสร้างดงัน้ี
? ท่อภายใน ควรทา จากยางไนไตร หรือเรียกวา่ ยางบูนา
? ช้นั สอดใยเชือกควรใชแ้พรเทียมสานอยภู่ ายในยางเพื่อเป็ นการเสริมแรง
เพิ่มกา ลงัและทา ใหผ้ นงัของท่อทนต่อแรงดึงสูงได้
? ช้นั เปลือกนอกควรใชย้างชนิดนีโอพรีน หรือยางธรรมชาติมีผวิเรียบ
และมีสีแดง
? ขอ้ ต่อเขา้กบักาพน่ สีควรใชข้อ้ ต่อที่ทา จากทองเหลือง
สายยางสา หรับอากาศอดัน้ีสามารถนา ไปใชพ้ น่ สีไดก้ บักาพน่ สีแบบซกั ชนั ฟีด(Suction
Feed) และแบบเพรสเชอร์ฟี ด (Pressure Feed) โดยไม่เกิดการบวมหรือเปื่อย นิยมน าไปใช้ในการ
พน่ สีโดยต่อเขา้กบักาพน่ สีมีขนาดของรูภายในโตประมาณเศษ 5 ส่วน 10 นิ้ว(8 มม.) ความยาวที่
นิยมนา ไปใชก้ นั มากที่สุด มีความยาวระหวา่ ง 25-50 ฟุต แต่ถา้เป็นการพน่ สีงานชิ้นเล็ก ๆ หรือใช้
กบัการพน่ สีขนาดเล็กก็ควรใชส้ ายยางที่มีรูภายในขนาดเศษ 1 ส่วน 4 นิ้ว(6มม.)และใชค้วามยาม
ไม่เกิน 12 ฟุต
รูปที่1.23แสดงลักษณะโครงสร้างภายในของสายยาง
2. สายยางที่ใช้เป็ นทางเดินของสีหรือของเหลวยางที่ใชท้ า ผนงัของท่อ ตอ้งตา้นทานต่อ
สารทา ละลาย ต่าง ๆ ไดด้ีเช่น สีอะคริลิกแล็กเกอร์สีอีนาเมลและสารเคมีต่าง ๆ ที่เป็นของเหลว
ท่อยางชนิดน้ีนา ไปใชเ้ป็นทางเดินของสีกาพน่ สีแบบเพรสเชอร์ฟีดการใชง้านของสายยางชนิดน้ี
จะใช้สายยางที่ยาว เนื่องจากบริเวณพ่นสีกบัถงับรรจุสีอยหู่ ่างกนั
โดยทวั่ ไปความยาวที่นิยมใชก้ ็คือความยาวระหวา่ ง 25-50 ฟุต เหมาะสา หรับการพน่ สีใน
โรงงานขนาดใหญ่ที่มีการพ่นสีจา นวนมากความโตของท่อภายในที่นิยมใชค้ือเศษ 3 ส่วน 8 (10
มม.)และเศษ 5 ส่วน 16 นิ้ว(8 มม.)
ท่อที่ใชเ้ป็นทางเดินของลม ใชส้ ัญลกัษณ์สีแดง ส่วนที่ใชเ้ป็นทางเดินของสีใช้
สัญลักษณ์สีด าอยา่ นา ท่อทางเดินของลมมาใชเ้ป็นทางเดินของสีแต่สามารถใชท้ ่อ
ทางเดินของสีไปใช้เป็ นทางเดินของลมได้ การใชท้ ่อยางควรคลายออกมาใชง้าน
และเก็บในลกัษณะมว้นไว้เมื่อทา งานพน่ สีเสร็จเรียบร้อยแลว้
เคร่อ
ื
งขด
ั
สี
เครื่องขัดสี เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการผอ่ นแรงแก่ผปู้ ฏิบตัิงาน มี2 ประเภท คือ
1. เครื่องขัดกระดาษทราย เป็ นการขัดหยาบใช้ส าหรับขัดผิวโลหะ หรือขัดสีโป๊ วให้เรียบ
สามารถถอดเปลี่ยนกระดาษทรายไดท้ ้งักระดาษทรายหยาบและกระดาษทรายละเอียด มีท้งัแบบใช้
กระแสไฟฟ้ าเป็ นพลังงานในการหมุนและแบบใช้ลมความดันสูงดังแสดงในรูปขา้งล่างน้ี
รูปท1ี่ .24ขอ้ ต่อและเหลก็รัดท่อลม รูปท1ี่ .25 ขอ้ ต่อแบบปลดได้
หมายเหตุ:
2. เครื่องขดัผา้ใชข้ดัสีที่พน่ สา เร็จแลว้ เพื่อขจดัละอองสีที่แหง้กลางเกาะติดอยบู่ นผิวงาน
ใหเ้กิดความเงางาม โดยใชร้่วมกบัครีมขดั ซ่ึงในข้นั ตอนแรกเมื่อสีแหง้ใหม่ๆ ควรขดัหยาบก่อน
จากน้นัจึงตามดว้ยการขดัละเอียด
นอกจากน้ีเครื่องมืออุปกรณ์งานสียงัมีหลายชนิดเช่น กาพน่ สีหินขดัและผา้สักหลาดฯลฯ
ซ่ึงรายละเอียดจะไดก้ล่าวถึงในบทต่อไป
แบบประเมินผลการเรียนรู้
หน่วยที่ 1
ตอนที่1จงตอบคา ถามต่อไปนีใ้ห
้
ถูกต
้
อง
1.คอ้นข้ึนรูปที่ใชอ้ยโู่ ดยทวั่ ไปมีอะไรบา้งและมีวธิีการทา งานอยา่ งไร
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
(ก) เครื่องขัดแบบไฟฟ้ า
รูปท1ี่ .26 แสดงลักษณะของเครื่องขัดกระดาษทราย
(ข) เครื่องขัดแบบใช้ลม
รูปท1ี่ .27 แสดงลักษณะการใช้เครื่องขัดผ้า
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
2. การใชค้อ้นที่ถูกตอ้งมีวธิีการอยา่ งไร
???????????????????????????????????????.
???????????????????????????????????????.
???????????????????????????????????????.
???????????????????????????????????????
3. การทา งานของเครื่องอดัอากาศแบบข้นั ตอนเดียวมีวธิีการทา งาน คือ
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
4. หน้าที่ของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ คือ
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
5. เครื่องขดักระดาษทรายกบั เครื่องขดัผา้มีความแตกต่างอยา่ งไร
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
???????????????????????????????????????
ตอนที่2 จงเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.ขอ้ใดไม่จดัอยใู่ นกลุ่มของคอ้นเคาะข้ึนรูป
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนปลายแหลม
2.คอ้นที่ใชเ้คาะแต่งผวิเรียบใชข้้ึนสันแนวตรงคือ
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนปลายแหลม
3. ค้อนชนิดใดใชเ้คาะไม่ให้โลหะแผน่ ยดืตวั
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนไม้
4..คอ้นชนิดใดใชร้องรับชิ้นงานขณะตีดว้ยคอ้น
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อนปลายตรง
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนไม้
5. จุดประสงคข์องการเคาะข้ึนรูป คือ
ก. เคาะโลหะใหไ้ดรู้ปร่างใหม่ ข. เคาะโลหะใหไ้ดช้ิ้นงานเพิ่มข้ึน
ค.เคาะรอยบุบให้คืนสภาพเดิม ง. เคาะโลหะเป็ นแบบของงาน
6.คอ้นที่มีลกัษณะเป็นกา้นเหล็กสอดอยใู่ นแท่งเหล็กที่เจาะรูไว้ส่วนปลายงอคือ
ก. ค้อนปลายขวาง ข. ค้อยปลายแหลม
ค. ค้อนตู๊ ง. ค้อนกระตุก
7. การจับค้อนที่ถูกต้องดา้มคอ้นควรเอียงทา มุมกบั แขนประมาณ
ก. 60 องศา ข. 90 องศา
ค. 120 องศา ง. 135 องศา
8. การเคาะข้ึนรูปใหใ้ชแ้รงเคาะมาจากส่วนใด
ก. ข้อศอก ข. ข้อมือ
ค. แขน ง.ไหล่
9. ขอ้ใดไม่จดัอยใู่ นหนา้ที่ของชุดแอร์ทรานส์ฟอร์เมอร์
ก. ท าความสะอาดอากาศ ข. น้า ไหลตามท่อดกักรอง
ค. ควบคุมความดันอากาศ ง.ระบายน้า น้า มนั จากวาลว์
10. งานซ่อมสีแล็กเกอร์จะใชค้วามดนั ที่ขอ้ใด
ก. 15-35 ปอนด์/ตารางนิ้ว ข. 20-25 ปอนด/์ตารางนิ้ว
ค. 40-45 ปอนด/์ตารางนิ้ว ง. 45-55 ปอนด/์ตารางนิ้ว
11. สีอัลไคดอ์ีนาเมลพน่ สีคร้ังสุดทายจะใช้ความดันอากาศประมาณ ้
ก. 15-35 ปอนด์/ตารางนิ้ว
ข. 20-25 ปอนด/์ตารางนิ้ว
ค. 40-45 ปอนด/์ตารางนิ้ว
ง. 45-55 ปอนด/์ตารางนิ้ว
12. สายยางอากาศที่ใชง้านกนั มากจะมีความยาวประมาณ
ก. 20-50 ฟุต ข. 25-50 ฟุต
ค. 30-50 ฟุต ง. 35-50 ฟุต
13. ท่อที่ใช้เป็ นทางเดินของสีใช้สัญลักษณ์ คือ
ก. สีแดง ข. สีเหลือง
ค. สีน้า เงิน ง. สีด า
14. เครื่องมือขดัสีที่นิยมใชม้ีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท
15. Air Regulator มีหน้าที่ส าคัญ คือ
ก. ส่งถ่ายอากาศไปยงัหวัฉีด ข. ควบคุมความดันอากาศ
ค.กกัเก็บอากาศ ง.ผสมสีกบัอากาศ
---------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor02.pdf
หน่วยที่ 2
กาพ่นส
----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor03.pdf
หน่วยที่ 3
ชนิดของสีและการเลือกใช้งาน
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor04.pdf
หน่วยที่ 4
การลอกสีและการขัดเตรียมผิวงาน
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor05.pdf
หน่วยที่ 5
การโป๊ วสีและการขัดสีโป๊ ว
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor06.pdf
หน่วยที่ 6
การผสมสี
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor07.pdf
หน่วยที่ 7
การพน่ สีกนั ชนและการปิดกระดาษคลุม
-----------------------------
www 203.172.180.165/lptc/sub-web/web_dvt/sub-dvt/dvt01/data/cor07.pdf
หน่วยที่ 8
การขดัสีรถยนตห์ ลงัการพน่ สี
-----------------------------
ผู้สอนรายวิชางานสีรถยนต์
นายนิคม ประทุมมาศ
ครูพิเศษสอนแผนกวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคลำปาง
################
www share.psu.ac.th/blog/sothorn-general/27906
งานซ่อม ปะผุและทำสีใหม่รถบัส ตอนที่ 1
ความรู้ไม่มีที่สิ้นสุด หากเราเป็นน้ำไม่เต็มแก้ว
ตามที่คณะทรัพยากรธรรมชาติ ได้ทำการซ่อมรถบัสคณะฯ 40 ที่นั่ง ทะเบียน 40-0331 จากเงินรายได้คณะฯ 2556 ผมซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ควบคุมงาน ซึ่งต้องควบคุมงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่ได้ตกลงกันไว้ ดังนั้นในการทำงานผมจึงมีคำถามเกิดขึ้นในใจตลอดเวลาว่า ทำอะไรครับ ทำยังไงครับ ทำทำไม ทำนานมั้ย แล้วไม่ทำได้มั้ย และเมื่อผมได้รับคำตอบ ผมก็จะนำคำตอบนั้นมาหาข้อมูลเพิ่มเติมว่าจริงหรือไม่ ซึ่งทำให้ผมมีความรู้มากขึ้นโดยไม่รู้ตัว
โดยขั้นตอนการซ่อมรถบัสคณะฯ จะประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1. ขั้นตอนการลอกสีเก่าออก
1111
จากภาพที่ 1 จะเห็นว่า รถมีรอยสีดำๆ เนื่องจากการลอกสีเก่าออก โดยช่างจะความร้อนในการทำให้สีของตัวรถอ่อนตัว หลังจากนั้นก็จะทำการใช้เครื่องมือขูดสีรถออก เมื่อสีเก่าออกหมดแล้ว ก็จะเห็นส่วนที่ผุของรถ
2. ซ่อมแซมในส่วนที่ผุ
2222
จากภาพที่ 2 จะเห็นว่าช่างได้ทำการซ่อมแซมตัวถังรถในส่วนที่ผุ หลังจากซ่อมแซมตัวถังแล้วช่างจะทำการขัดจนเหล็กเกิดความมันวาว ดังภาพที่ 3
3333
จากภาพที่ 3 จะเห็นว่าเหล็กที่ขัดเกิดความมันวาว เพื่อที่จะช่วยให้งานในขั้นตอนต่อไปคือ การพ่นสีรองพื้นสามารถยึดเกาะกับตัวถังรถได้ดี
จากการแสดงขั้นตอนต่างๆ ของการซ่อมรถบัสคณะฯ ผมคิดว่าทุกท่านที่ได้เข้ามาอ่านคงจะเข้าใจว่าการซ่อมมีขั้นตอนอย่างไร และผมจะนำความรู้ที่ได้จากการควบคุมงานในครั้งนี้มาเล่าให้ฟังในตอนต่อไปครับ
--------------------------------
www thaiautovintage.com/web/classiccars_detail.php?id=285&type=Services
ด้วยประสบการณ์ในการบรูณะรถคลาสสิก เราจึงสามารถบริการได้ทุกอย่างที่นักสะสมต้องการ ตั่งแต่จัดจำหน่ายอะไหล่สำหรับรถคลาสิก สั่งตรงจากต่างประเทศ ซ่อมบำรุงประจำระยะทางสำหรับรถคลาสิก บูรณะรถคลาสิก
In accordance with our experience, we offer a full range services that collectors need for their classic cars such as new and used spare parts, routine maintenance and restoration service.
Mercedes Benz W111 280SE 3.5 Before
เตรียมพบกับNew Project
รถMercedes Benz W111 280SE 3.5 ของคุณเคน ธีรเดช เร็วๆนี้
------------------------------
www fordclub.net/2011/module_view.php?mod=webboard&fn=view&cid=98139
แนะนำอู่ทำสีระบบแห้งช้า2k เคาะ ปะ ผุ เจาะแก้ม ติดตั้งหลังคาซันรูฟ มีรถให้เช่าวันละ350บาท พ่นสีในห้องพ่นมาตรฐานระบบดูดอัด ฝุ่นจึงไม่เกาะผลงานเนียนรับประกันความพอใจ ขายชุดแต่งรอบคันทุกรุ่นพร้อมทำสีขอดูรูปชุด
แนะนำอู่ทำสีระบบแห้งช้า2k เคาะ ปะ ผุ เจาะแก้ม ติดตั้งหลังคาซันรูฟ มีรถให้เช่าวันละ350บาท พ่นสีในห้องพ่นมาตรฐานระบบดูดอัด ฝุ่นจึงไม่เกาะผลงานเนียนรับประกันความพอใจ ขายชุดแต่งรอบคันทุกรุ่นพร้อมทำสีขอดูรูปชุดแต่งได้
ผลงานเทียน่า เปลี่ยนสีจากขาวมุกเดิมของเทียน่า ให้เป็นขาวมุกนิวแคมรี่ ผลงานออกมาสีสว่างสวย (ขาวมุกนิวแคมรี่จะออกสว่างกว่า มุกเยอะกว่า ส่วนขาวมุกเทียน่าจะอมเหลืองๆมุกน้อย)
รูปผลงาน ขั้นตอนหลังจากรื้ออะไหล่โป้วเก็บรอยรอบคันเสร็จ ต่อมารองพื้น แปะกระดาษป้องกันสีเลอะชิ้นส่วนตามขอบ เข้าห้องพ่นเตรียมพ่น

รูปจากห้องพ่น หลังพ่นเสร็จใหม่ๆ

ขั้นตอนประกอบรถ


จากรูปบนก่อนขัดยา
ประกอบเสร็จ

อีกรูป ขาวเดิมเทียน่าด้านขาว เปรียบเทียบกับรูปที่เหลือซึ่งพ่นขาวมุกนิวแคมรี่

การเปลี่ยนหลังคา วิธีการติดตั้งและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมนั้นสำคัญ! อู่เราใช้วิธีการเลาะตามตะเข็บหลังคาและเชื่อมโดยเครื่องเชื่อมco2ในการเชื่อมตัวถังซึ่งเครื่องตัวนี้ช่วยถนอมเหล็กรถ จะไม่ทำให้เหล็กตัวถังที่เชื่อมบาง และจะไม่เกิดสนิมในระยะยาว รอยที่เชื่อมจะเป็นรูปสวย ทำได้ทั้งหลังคาตรงรุ่น หรือแปรงสำหรับหลังคามาไม่ตรงรุ่น (โดยเจาะ)


ตัวอย่างเจาะแก้ม


อู่ เคาะพ่นสี A.P. Garage ทำสีระบบแห้งช้าซึ่งสีที่ออกมาจะเงาสวยเหมือนรถใหม่ป้ายแดง และทนทานอยู่ได้นาน ทีมงานของเราเป็นช่างพ่นสีและช่างผสมสี ที่มีประสบการณ์ยาวนานฝีมือดี สีที่ใช้เป็นสี ดูป๊อง ( dupont) หรือ นกแก้ว แล้วแต่ลูกค้าจะระบุ ราคาตามคุณภาพสีและsizeรถ ซึ่งราคาเริ่มต้นที่15000 รอบคัน
ผลงานแจ๊สเปลี่ยนสีเทาเป็นชมพู เจาะแก้ม ใส่ซันรูฟ




Benz เปลี่ยนหลังคาซันรูฟ ทำสี




รูปผลงาน เบ็นซตากลม เปลี่ยนหลังคาซันรูฟ ทำสี
รื้อเบาะถอดกระจกหน้าหลัง ติดตั้งหลังคา

ลอกหลังคาถึงเหล็ก (กรณีที่พิ้นหลังคามาไม่ดี)ลงด้วยน้ำยาเกาะเหล็กอย่างดียี่ห้อซิกเก้น

ต่อมาโป้ว รองพื้น

พ่นสีจริง

ผลงานซูบูรุ เปลี่ยนสีจากเทาเป็นเหลือง ใส่ซันรูฟ ปะผุรอบคัน
เริ่มจาก เลาะหลังคาเดิมออก ทำการใส่หลังคาซันรูฟ และปะผุรอบคัน

โป้ว รองพื้น


หลังพ่น

รูปผลงาน honda เปลี่ยนหลังคาซันรูฟโดยวิธีแปรงใส่ เนื่องจากหลังคามาไม่ตรงรุ่น และปลี่ยนสีรถจากเทาเป็นแดง ใช้สีแห้งช้าแลคเกอร์ดูป๊อง

รูปติดตั้ง


ผลงานSuburu เปลี่ยนสีจากเดิมขาว เป็นสี ส้มแดง

แจ๊ส เปลี่ยนหลังคาเป็นซันรูฟเริ่มจาก ถอดกระจกหน้าหลัง เลาะตะเข็บหลังคาเกาออก งานเชื่อมด้วยเครื่องco2ป้องกันการเกิดสนิม

เริ่มโป้ว

พื้น

พ่นให้ห้องมตราฐาน ระบบดูดอัด ป้องกันฝุ่นเกาะสี

Toyota wish เปลี่ยนสีจากเทาเป็น ขาวมุก


Toyota wish เปลี่ยนสีจากดำเทามีมุก เป็นสีดำสนิทเบอร0ไม่มีมุก

ยังมี บริการซ่อมเครื่อง ช่วงล่าง
สำหรับรถที่มีประกันภัยชั้น 1 สามารถเครมทำสีได้รอบคัน และ รับซ่อมสีรถประกันตามใบเครม รับงานประกันทุกประกันภัย ค่าเอ็กเซฟเจรจากันได้ ถ้าทางบริษัทประกันของคุณเรียกเยอะ ทางอู่อาจช่วยออกให้ครึ่งนึงของราคาเรียก หรืออาจไม่เก็บ ไม่ดองงาน เน้นคุณภาพ ยินดีรับบัตรเครดิต ลอง โทรปรึกษาได้ tel: 084-452-2489, 081-7213-377,02 892 3944

หรือเมลมาถามรายละเอียดหรือขอดูรูปผลงานที่ suwanu16@hotmail.com
หรือ lineที่ cheez78
สถานที่ตั้ง อยู่ บางบอน 5 ซอยเพชรเกษม 81 หนองแขม กทม
Comment