Announcement

Collapse
No announcement yet.

เล่นเกมส์ Framerateตั้งแต่60ขึ้นไปสายตามนุษย์แยกออกด้วยเหรอครับ

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • Originally posted by rapthaiza View Post
    เข้ามาแบบ งงๆ
    สับสนกันรึเปล่า....

    FPS ( frame per second ) คือ จำนวนเฟรมภาพที่แสดงผลออกมาได้ต่อวิ
    SRR ( Screen Refresh Rate ) คือ อัตราการกระพริบของจอ

    FPS ยิ่งมาก ก็ยิ่งทำให้เกมเร็วขึ้น ไม่กระตุก หรือเฟรมภาพที่ได้ออกมาช้าลง แต่โดยส่วนมากแล้วเกือบทุกเกมจะ lock ไว้ที่ 60FPS
    คุณเคยลอง ตัว benchmark ของ SFIV ไหม ? เคยเห็น FPS วิ่ง 100+ ไหม ? ว่าเกมมันเร็วขนาดไหน....

    SRR ยิ่งมาก ก็ยิ่งทำให้การกระพริบของหลอดภาพไว้ขึ้น ส่งผลให้สายตาของเรามองเห็นตัวหนังสือหรือภาพที่หน้าจอ มีความชัดเจน หรือการสั้นของภาพน้อยลง ทำให้รู้สึกว่าไหลลื่น ไม่ปวดตา แต่โดยปกติจอ LCD จะอยู่ที่ 60 Hz
    FPS มันขึ้นอยู่กัยเกมส์ด้วยครับผม

    ถ้าอย่างในกรณี STFT เฟรมเพิ่มมันไม่ได้มีการแทรกเฟรมขึ้นมา แต่เฟรมมันฟิ๊กเป็นภาพช่วงๆมันเลยทำให้ยิ่งเฟรมเยอะ เกมส์ยิ่งเร็วเหมือนพวก
    Emulator Gamboy av PS1

    แต่เกมส์อื่นที่เฟรมเยอะไม่ได้ทำให้เกมส์เร็วไปด้วยหมายความว่าสร้างเฟรมขึ้นมาตามช่องโหว่ ของเฟรมที่ขาดทำให้ภาพมันเนียน

    SRRกับ FPS แทบจะไม่ต่างกันในแง่ควายหมาย
    ในด้านเทคนิค
    ง่ายๆนะครับ SRR เป็นการกระพริบของจอ
    FPS ก็เป็นจำนวนเฟรมที่กระพริบออกมาเหมือนกัน-*-

    จะลอกว่าเรื่องเดียวกันก็เกือบจะได้

    Comment


    • Originally posted by umbrella View Post
      FPS มันขึ้นอยู่กัยเกมส์ด้วยครับผม

      ถ้าอย่างในกรณี STFT เฟรมเพิ่มมันไม่ได้มีการแทรกเฟรมขึ้นมา แต่เฟรมมันฟิ๊กเป็นภาพช่วงๆมันเลยทำให้ยิ่งเฟรมเยอะ เกมส์ยิ่งเร็วเหมือนพวก
      Emulator Gamboy av PS1

      แต่เกมส์อื่นที่เฟรมเยอะไม่ได้ทำให้เกมส์เร็วไปด้วยหมายความว่าสร้างเฟรมขึ้นมาตามช่องโหว่ ของเฟรมที่ขาดทำให้ภาพมันเนียน

      SRRกับ FPS แทบจะไม่ต่างกันในแง่ควายหมาย
      ในด้านเทคนิค
      ง่ายๆนะครับ SRR เป็นการกระพริบของจอ
      FPS ก็เป็นจำนวนเฟรมที่กระพริบออกมาเหมือนกัน-*-

      จะลอกว่าเรื่องเดียวกันก็เกือบจะได้
      อ่า ท่าน umbrella
      ที่ผมเข้าใจคือ FPS คือภาพ หนึ่งเฟรมที่การ์ดจอ ผ่านการประมวลผลเสร็จสิ้นมาแล้ว ส่งสัญญาญไปให้จอภาพรับ
      ส่งผลให้สายตามนุษย์รับรู้ว่าเป็นภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่องขนาดไหน
      SRR คือความเร็วในการกระพริบของจอ มันจะส่งผลถึงสายตามนุษย์ ว่าชัดไม่ชัด ปวดตา ไม่ปวดตา แบบนี้มากกว่ารึเปล่าครับ

      ผมว่ามัน ต้องแยกออกจากกันสิ เพราะความเร็วกระพริบหน้าจอเราเซ๊ตได้ ปกติอยู่ 60-75mhz
      และมันก็ฟิก ค่าเดียวตลอดไม่มีการเปลี่ยนแปลง
      แต่จำนวนเฟรมต่อวิ ที่ออกมาจากการประมวลผลนั้น มันไม่สม่ำเสมอนี่ครับ อยู่ที่ความแรงของเครื่องเรา

      หรือผมเข้าใจผิด?

      Comment


      • ต้องรอดูการวิจัย เลยว่า คนเรา รับภาพ ทางประสาทตาได้มากสุด กี่ FPS ครับ แน่นอนสุด

        ถ้าเกินกว่านี้แล้วยังมองออกแสดงว่าใช้ จิตรับละครับ สัมผัสที่ 6 คิคิ

        ไม่ก็ตาท่านคง ไวกว่าคนทั่วไป ลองไปออกเกมส์พันหน้าครับ เผื่อดัง ตี10 ก็ได้ ><


        แต่ปัญหาคือผมไม่ทราบว่าตาคนรับได้มากสุดกี่ FPS ใครทราบ ช่วยไขข้อกระจ่างที นะเธอ

        Comment


        • Originally posted by nitan View Post
          ต้องรอดูการวิจัย เลยว่า คนเรา รับภาพ ทางประสาทตาได้มากสุด กี่ FPS ครับ แน่นอนสุด

          ถ้าเกินกว่านี้แล้วยังมองออกแสดงว่าใช้ จิตรับละครับ สัมผัสที่ 6 คิคิ

          ไม่ก็ตาท่านคง ไวกว่าคนทั่วไป ลองไปออกเกมส์พันหน้าครับ เผื่อดัง ตี10 ก็ได้ ><


          แต่ปัญหาคือผมไม่ทราบว่าตาคนรับได้มากสุดกี่ FPS ใครทราบ ช่วยไขข้อกระจ่างที นะเธอ
          มันอยู่ในหลักสูตรฟิสิกส์ ม.ปลาย อยู่แล้วครับ คำตอบคือ ตามนุษย์แยกแสงกระพริบได้ที่ 1/16 วินาที
          แปลกลับคือ 16 FPS นั่นแหละ มันเป็นข้อจำกัดของการแปลงสารประกอบ carotinoid ( อนุพันธ์ของวิตามิน A )
          ทำให้ได้refresh rate ของเรตินาที่ 1/16 วินาที ( ชีววิทยาระดับมหาวิทยาลัย )
          อยากอ่านละเอียดนี่เลย http://en.wikipedia.org/wiki/Persistence_of_vision
          จะได้ทราบว่ายังมีรายละเอียดอื่น ๆ ที่สมองมองเห็นภาพเคลื่อนไหวอีก
          ที่ว่าจิตรับนั้น ก็ถูกนะครับ มีคำอธิบายไว้ ทำให้มนุษย์สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวที่ถี่กว่า 16 FPS ได้ ( รู้แต่ว่าต่างนะ บอกเป็นปริมาณบ่ได้ดอก )
          http://en.wikipedia.org/wiki/Phi_phenomenon <<< นี่พระเอกที่ทำให้เรารับรู้ว่าภาพเคลื่อนไหว
          http://en.wikipedia.org/wiki/Motion_perception
          http://en.wikipedia.org/wiki/Beta_movement
          http://en.wikipedia.org/wiki/Frame_rate
          Last edited by hinosuke; 8 Dec 2010, 00:47:44.

          Comment


          • Originally posted by hybrid7617 View Post
            อ่า ท่าน umbrella
            ที่ผมเข้าใจคือ FPS คือภาพ หนึ่งเฟรมที่การ์ดจอ ผ่านการประมวลผลเสร็จสิ้นมาแล้ว ส่งสัญญาญไปให้จอภาพรับ
            ส่งผลให้สายตามนุษย์รับรู้ว่าเป็นภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่องขนาดไหน
            SRR คือความเร็วในการกระพริบของจอ มันจะส่งผลถึงสายตามนุษย์ ว่าชัดไม่ชัด ปวดตา ไม่ปวดตา แบบนี้มากกว่ารึเปล่าครับ

            ผมว่ามัน ต้องแยกออกจากกันสิ เพราะความเร็วกระพริบหน้าจอเราเซ๊ตได้ ปกติอยู่ 60-75mhz
            และมันก็ฟิก ค่าเดียวตลอดไม่มีการเปลี่ยนแปลง
            แต่จำนวนเฟรมต่อวิ ที่ออกมาจากการประมวลผลนั้น มันไม่สม่ำเสมอนี่ครับ อยู่ที่ความแรงของเครื่องเรา

            หรือผมเข้าใจผิด?
            ไม่ผิดครับ

            ถ้าในกรณีเกมส์มันไม่สม่ำเสมออยู่แล้วแต่หนัง DVD BLURAY ANIMATION มันฟิ๊ก

            คือยังไงดีอ่ะจะอธิบายไงดี

            Srr มันกระพริบตลอดเวลาอยู่แล้ว 60ครั้ง แต่เเฟรม เรตมัน 24
            เท่ากับว่า ตลอดระยะเวลาทีั่มันกระพริบ จะมีการฉายเฟรมซ้ำ 24/60 เฉลี่ยกันไป
            ส่วนไอทีวี100-เท่าไหร่ก็ช่างมัน สมมุตรหนังมี FPSอยู่ที่ 60
            เราเปิด ฟั่งชั่น 120HZ เท่ากลับว่าตัวทีวีจะใช้Engine คำนวนและแทรกภาพขึ้นมาให้เ็ป็น 120
            ซึ่งก็แล้วแต่หนังบางเรื่องบางเเผ่นบางฟอเเมตมาเท่าไหร่ ถ้าFrame มันไม่พอดี เวลาดูจะปวดหัวภาพจะเบลอ
            ไม่ใช่เพราะจอมัน 120hz แต่เป็นเฟรมที่แทรกมามันไม่สมบูรณ์ ขัดต่อ ต้นฉบับ FPSของหนัง
            พวกฟังชั่นนี้นส่วนใหญ่ไม่เปิดเต็ม เอาแค่พองามเพราะหนังส่วนใหญ่เฟรมไม่ถึง 60 โดยเฉพาะDVD
            อธิบายเข้าใจป่ะครับ

            Comment


            • ว่าแต่ใครใช้จอ 100 Hz บ้างครับเนี่ย อยากรู้

              Comment


              • ผมแยกออกครับ ไม่ได้ดราม่านะครับ

                30 กับ 60 ต่างกันเยอะเลย

                30 คือเฟรมระดับ PS1 ----- 60 คือ ระดับ GT 5 ใน PS3

                60 กับ 120 ผมก็แยกออกครับ เล่นมาแล้วกับ Lost Planet กับจอธรรมดา และ จอ 120 Hz ของ Acer ได้เฟรมประมาณ 100 ++

                ถือว่าเป็นกรรมของตัวเองเพราะต้องเสียเงิน

                ผมแปลกใจนะสำหรับคนที่ว่าแยกไม่ออก นี่...แยกไม่ออกจริงๆ หรือไม่รู้อ่ะครับ มันต่างกันเยอะจะตาย 30 กับ 60 เนี่ย

                ไม่ได้มีเจตนามาม่านะครับ ^^

                Comment


                • ว่าแล้วก็เลยลองเอาคลิปมิวสิควีดีโอ mp4 25fpsไปแปลงไฟล์เป็น 60fps กับ 15fps

                  ผลออกมาคือ 25 กับ 60 แทบไม่มีความแตกต่างในการดูภาพ แต่จะมีความแตกต่างในเรื่องของการstep ขณะกดหยุดภาพ
                  โดยคลิป 60 fps จะมีstepที่เยอะกว่าของ25 fps แต่ส่วนใหญ่จะเป็นพวกเสียเปล่า (คือก็ภาพเดิมนั่นแหละแต่เบิ้ลเป็น2 3 4stepกว่าภาพจะขยับ)
                  ในขณะที่ 25 fps ลองกด stepดู ภาพจะขยับๆๆๆๆไปในทุกๆเฟรม
                  แถม...ไฟล์ใหญ่ขึ้นด้วยโดยใช่เหตุ

                  ทีนี้ลองแปลงไฟล์เดิม(25fps) เป็น 15fps
                  เห็นความแตกต่างได้อย่างชัดเจนในการมองเห็นครับ คือภาพที่ได้นั้นความสมูทน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพที่มีการเคลื่อนไหวเยอะๆ
                  เช่นผมปลิว จะเห็นได้ชัดเจนมากว่าตัวที่เป็น 25fpsจะลื่นปกติเหมือนเห็นผมคนจริงๆ แต่ 15fpsจะรู้สึกเหมือนโมชั่นมันหายๆไปจากตอนเป็น25fps
                  (ก็แหงละ มันเหลือ 15fpsนี่ หายไปตั้ง10เฟรม) แต่ถ้าเป็นช่วงที่ภาพขยับไม่มาก จะดูไม่ออกว่าต่างกันแค่ไหน


                  ก็เลยได้ข้อสรุปว่า 15 ไป 25 ต่างแน่นอน ส่วน 25 ไป 30 60 นั้นก็ต้องดูว่าต้นฉบับมันมาเท่าไหร่ ถ้าต้นฉบับมันมา 60 แล้วเราเห็นแค่ 25 ก็แสดงว่ามันกระตุก
                  แต่ถ้าต้นฉบับมันมา 25 30 ต่อให้เราเอาไปทำเป็น 60 หรือ 100 มันก็ให้คุณภาพเท่า 25 30 อยู่ดี แถมยังจะเป็นภาระกับการ์ดจออีกที่ต้องให้มันมารันที่ 60fpsทั้งๆที่คุณภาพเท่า 25 30

                  ส่วนเรื่อง Hz
                  60 70 72 75

                  บอกได้เลยว่าดูไม่ออกเพราะถ้าดูออก 60ห่วย 75ดี คุณจะกล้าผลิตจอที่รันได้แค่ 60Hzออกมาขายไหมล่ะ(ทีวีทั่วๆไปก็ตามนั้น)
                  แต่ถ้าถามว่า 60 กับ 75 อย่างไหนสบายตากว่ากัน ก็น่าจะ 75 หรือถ้ามี 100 120 ก็น่าจะดีกว่า

                  แต่ผมก็ไม่รู้หลักวิชาการเท่าไหร่เหมือนกันว่า รีเฟรชของจอภาพแบบ 120Hz มันดีต่อสุขภาพตากว่า 60Hzที่เป็นมาตรฐานทีวีทั่วไปยังไง (กับ50Hzในบางโซน)
                  แล้วทำไมต้องทำให้มันยิ่งมากยิ่งดี (แต่ถ้ามาลองนึกภาพดูว่าถ้าทีวีที่เราๆดูกันมันมี refresh rateที่ 30Hz หรือ 25Hz เราจะปวดตาขนาดไหนเวลาดูทีวี...)


                  ละไอเทคโนโลยี 2ms 5ms นั่นอีก มันส่งผลมากขนาดไหนหากจอมี refresh rateเท่ากันแต่ค่า respond ต่างกันอย่าง 2ms 5ms
                  มันส่งผลต่อประสาทตาคนเรามากน้อยแค่ไหน


                  ปล.ไว้พรุ่งนี้มาเก็บความรู้ใหม่ ชอบๆกระทู้แบบนี้ ได้ความรู้ดี

                  Comment


                  • เรื่องตรงนั้น อ่านแล้ว ยัง งงๆ แต่ที่ผมจำได้คือ เรื่อง Refresh Rate จอ RGB ใช่ครับ มันกระพริบจนปวดตา ถ้าตั้งต่ำๆ เพราะมันใช่หลอดสี ยิงแสงแล้วกระพริบตามความถี่ที่ปรับ

                    แต่กับพวก LED รู้สึกว่าจะไม่ใช่ครับ เพราะ เทคโนโลยีให้แสง คนละตัว การแสดงภาพก็ทำคนละแกนด้วยอ่ะ

                    ที่จอ LED พวกนี้ไม่มีการกระพริบครับ
                    ถ้ามีอาการกระพริบคือ จอใกล้แว้ว - -+

                    Comment


                    • Originally posted by KAYAZUDA View Post
                      เรื่องตรงนั้น อ่านแล้ว ยัง งงๆ แต่ที่ผมจำได้คือ เรื่อง Refresh Rate จอ RGB ใช่ครับ มันกระพริบจนปวดตา ถ้าตั้งต่ำๆ เพราะมันใช่หลอดสี ยิงแสงแล้วกระพริบตามความถี่ที่ปรับ

                      แต่กับพวก LED รู้สึกว่าจะไม่ใช่ครับ เพราะ เทคโนโลยีให้แสง คนละตัว การแสดงภาพก็ทำคนละแกนด้วยอ่ะ

                      ที่จอ LED พวกนี้ไม่มีการกระพริบครับ
                      ถ้ามีอาการกระพริบคือ จอใกล้แว้ว - -+
                      CEO ส่วนแบล็คไลท์ด้านหลังไม่ว่าจะเป็น LCD หรือ LED มันไม่กระพริบอยู่แล้วครับ มันเปิดตลอด สังเกตแม้เป็นภาพดำล้วนบนจอ ก็ยังสว่างทั่วห้องได้
                      แต่ส่วนที่ให้สีคือตัว liquid display ต่างหากที่กระพริบปิดเปิดให้เกิดสีเกิดภาพ Refresh rate กับ response time ก็คือตรงนี้แหละ


                      มันคล้ายกับเวลาไปดูหนังโรงที่ฉายระบบฟิล์ม แสงนั้นเปิดตลอด แต่ฟิล์มวิ่งตัดกลางระหว่างแสงไฟแล้วมีภาพออกจอ

                      Comment


                      • Originally posted by KAYAZUDA View Post
                        เรื่องตรงนั้น อ่านแล้ว ยัง งงๆ แต่ที่ผมจำได้คือ เรื่อง Refresh Rate จอ RGB ใช่ครับ มันกระพริบจนปวดตา ถ้าตั้งต่ำๆ เพราะมันใช่หลอดสี ยิงแสงแล้วกระพริบตามความถี่ที่ปรับ

                        แต่กับพวก LED รู้สึกว่าจะไม่ใช่ครับ เพราะ เทคโนโลยีให้แสง คนละตัว การแสดงภาพก็ทำคนละแกนด้วยอ่ะ

                        ที่จอ LED พวกนี้ไม่มีการกระพริบครับ
                        ถ้ามีอาการกระพริบคือ จอใกล้แว้ว - -+
                        จอ LCD มันกระพิบเป็นพิกเซลหนิครับ ไล่จาก บนซ้าย ไล่ต่อๆ ไปจนล่าง ขวา ทำด้วยความเร็วสูง จนทำให้ตาเรามองว่า มันแสดงทั้งจอพร้อมๆกัน ที่จริง มันไล่ การแสดงจากบนซ้ายไปล่างขวา

                        ส่วนพวกแยก 300 FPS กับ 100 FPS ได้ เขาคงเห็น จอ ไล่จากซ้ายไปขวาครับ ไม่เชื่อลองถามพวกนั่นดู พวกนั่นเทพจริงๆ

                        Comment


                        • อยากเห็นการไล่ ลองมองจากกล้องมือถือก็ได้ครับ เห็นไล่เป็นแนวชัดเจน

                          Comment


                          • Originally posted by hinosuke View Post
                            มันอยู่ในหลักสูตรฟิสิกส์ ม.ปลาย อยู่แล้วครับ คำตอบคือ ตามนุษย์แยกแสงกระพริบได้ที่ 1/16 วินาที
                            แปลกลับคือ 16 FPS นั่นแหละ มันเป็นข้อจำกัดของการแปลงสารประกอบ carotinoid ( อนุพันธ์ของวิตามิน A )
                            ทำให้ได้refresh rate ของเรตินาที่ 1/16 วินาที ( ชีววิทยาระดับมหาวิทยาลัย )
                            อยากอ่านละเอียดนี่เลย http://en.wikipedia.org/wiki/Persistence_of_vision
                            จะได้ทราบว่ายังมีรายละเอียดอื่น ๆ ที่สมองมองเห็นภาพเคลื่อนไหวอีก
                            ที่ว่าจิตรับนั้น ก็ถูกนะครับ มีคำอธิบายไว้ ทำให้มนุษย์สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวที่ถี่กว่า 16 FPS ได้ ( รู้แต่ว่าต่างนะ บอกเป็นปริมาณบ่ได้ดอก )
                            http://en.wikipedia.org/wiki/Phi_phenomenon <<< นี่พระเอกที่ทำให้เรารับรู้ว่าภาพเคลื่อนไหว
                            http://en.wikipedia.org/wiki/Motion_perception
                            http://en.wikipedia.org/wiki/Beta_movement
                            http://en.wikipedia.org/wiki/Frame_rate
                            +10 ครับ งั้นพวกเล่น CS 300 FPS ผมว่าเขา ต้องลองไปออกรายการตี 10 จริงๆละครับ รับลองดังแน่นอน ใช้จิต รับภาพมากกว่า ตา 50 เท่า =.= ตารับไป 16 ใช้จิตรับไป 284 โย๋ จิตแรงมากๆ wanted ป่าวครับเนี้ยย =.= แซวเล่นนะ

                            Comment


                            • Originally posted by hinosuke View Post
                              CEO ส่วนแบล็คไลท์ด้านหลังไม่ว่าจะเป็น LCD หรือ LED มันไม่กระพริบอยู่แล้วครับ มันเปิดตลอด สังเกตแม้เป็นภาพดำล้วนบนจอ ก็ยังสว่างทั่วห้องได้
                              แต่ส่วนที่ให้สีคือตัว liquid display ต่างหากที่กระพริบปิดเปิดให้เกิดสีเกิดภาพ Refresh rate กับ response time ก็คือตรงนี้แหละ


                              มันคล้ายกับเวลาไปดูหนังโรงที่ฉายระบบฟิล์ม แสงนั้นเปิดตลอด แต่ฟิล์มวิ่งตัดกลางระหว่างแสงไฟแล้วมีภาพออกจอ
                              อ่านั่นแหละๆ

                              ตัวให้แสง ต่างจาก RGB ที่ใช้หลอดภาพแสดง แสงสีออกมา

                              แต่ พวก LCD หรือ LED(ตัวเดียวกันต่างกันแค่ระบบให้แสง) เป็นชั้น คริสตัลเหลวๆ ฉาบไว้ให้สีแทนโดยใช้มุมตกกระทบ หักเหแสง

                              ตามนี้เลย ผมอธิบายไอ้เรื่องจอๆ ไม่เป็น แต่รู้ว่ามันทำงานคนละแบบกับ จอ RGB

                              ส่วนเรื่องแยกภาพระดับ 100+ ได้นี่ สงสัยจะเป็น สายตา สโลว์โมชั่น ก็เหมือนคน ขี่รถมั้งครับ บางคน สายตารับภาพเร็วๆไม่ไหว เจอคนขับเร็วๆ หนักๆซักพักไปอ๊วกก็มี

                              บางคนขับขี่เร็วนรก แต่มองทันก็แก้สถานการณ์ได้ทันตลอด

                              Comment


                              • Originally posted by KAYAZUDA View Post
                                อ่านั่นแหละๆ

                                ตัวให้แสง ต่างจาก RGB ที่ใช้หลอดภาพแสดง แสงสีออกมา

                                แต่ พวก LCD หรือ LED(ตัวเดียวกันต่างกันแค่ระบบให้แสง) เป็นชั้น คริสตัลเหลวๆ ฉาบไว้ให้สีแทนโดยใช้มุมตกกระทบ หักเหแสง

                                ตามนี้เลย ผมอธิบายไอ้เรื่องจอๆ ไม่เป็น แต่รู้ว่ามันทำงานคนละแบบกับ จอ RGB

                                ส่วนเรื่องแยกภาพระดับ 100+ ได้นี่ สงสัยจะเป็น สายตา สโลว์โมชั่น ก็เหมือนคน ขี่รถมั้งครับ บางคน สายตารับภาพเร็วๆไม่ไหว เจอคนขับเร็วๆ หนักๆซักพักไปอ๊วกก็มี

                                บางคนขับขี่เร็วนรก แต่มองทันก็แก้สถานการณ์ได้ทันตลอด
                                คนแต่ละคนมี ขีดจัดกัด รับภาพ พอๆกันนะครับ

                                มันเป็นขีดจำกัด ครับ ไม่เกี่ยวกับ ใครเก่งไม่เก่ง

                                Originally posted by hinosuke View Post
                                มันอยู่ในหลักสูตรฟิสิกส์ ม.ปลาย อยู่แล้วครับ คำตอบคือ ตามนุษย์แยกแสงกระพริบได้ที่ 1/16 วินาที
                                แปลกลับคือ 16 FPS นั่นแหละ มันเป็นข้อจำกัดของการแปลงสารประกอบ carotinoid ( อนุพันธ์ของวิตามิน A )
                                ทำให้ได้refresh rate ของเรตินาที่ 1/16 วินาที ( ชีววิทยาระดับมหาวิทยาลัย )
                                อยากอ่านละเอียดนี่เลย http://en.wikipedia.org/wiki/Persistence_of_vision
                                จะได้ทราบว่ายังมีรายละเอียดอื่น ๆ ที่สมองมองเห็นภาพเคลื่อนไหวอีก
                                ที่ว่าจิตรับนั้น ก็ถูกนะครับ มีคำอธิบายไว้ ทำให้มนุษย์สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวที่ถี่กว่า 16 FPS ได้ ( รู้แต่ว่าต่างนะ บอกเป็นปริมาณบ่ได้ดอก )
                                http://en.wikipedia.org/wiki/Phi_phenomenon <<< นี่พระเอกที่ทำให้เรารับรู้ว่าภาพเคลื่อนไหว
                                http://en.wikipedia.org/wiki/Motion_perception
                                http://en.wikipedia.org/wiki/Beta_movement
                                http://en.wikipedia.org/wiki/Frame_rate
                                คนที่บอกรับภาพเร็วๆไม่ไหว ที่จริงเขารับไหวครับ แค่ขับรถเร็วๆ ไม่ได้ หนักหนาเกินไปเลย แต่ที่เขา รับไม่ไหว อาจเป้นที่สมอง เขารับภาพ เร็วๆติดต่อกัน ทำให้ ล้า ครับ ส่วนบางคนที่เขาไม่เป็นไรเพราะเขา ไม่ล้า ครับ แต่ความสามารถในการรับภาพ นั่นเท่าๆ กันเพราะเป็นขีดจำกัด ส่วน ใครจะล้า ก่อน ล้าหลัง อันนี้ แล้วแต่คน

                                Comment

                                Working...
                                X