ต้านโควิดสายพันธุ์เดลต้า
เทียบอาการโควิดสายพันธุ์เดลต้า อัลฟ่า เบต้า พบเชื้อในไทย
โควิด 3 สายพันธุ์ ระบาดในไทย ความสามารถในการแพร่เชื้อและแสดงอาการบางอย่างที่ต่างกัน
ปัจจุบันประเทศไทยพบการระบาดของเชื้อโควิด-19 ทั้งสิ้น 3 สายพันธุ์ด้วยกัน ได้แก่ สายพันธุ์เดลต้า (อินเดีย) สายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ) และสายพันธุ์เบต้า (แอฟริกาใต้) แต่ละสายพันธุ์จะมีประสิทธิภาพในการแพร่กระจายเชื้อที่แตกต่างกัน รวมไปถึงอาการของผู้ติดเชื้อที่พบในเชื้อชนิดหนึ่ง แต่กลับไปพบในเชื้ออีกชนิดหนึ่ง
โควิดสายพันธุ์เดลต้า (อินเดีย)
เริ่มกันที่โควิดสายพันธุ์เดลต้า ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รายงานเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา พบผู้ติดเชื้อจำนวน 661 ราย โดยโควิดสายพันธุ์นี้ถูกค้นพบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย พบการแพร่กระจายไปแล้วกว่า 92 ประเทศทั่วโลก อีกทั้งยังถูกจับตามองว่าเป็นโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่จะมาแทนที่สายพันธุ์อัลฟ่าที่กำลังเป็นสายพันธุ์หลักที่ระบาดในประเทศไทยในขณะนี้
ส่วนการพบเชื้อในประเทศไทยครั้งแรกที่บ้านพักคนงานย่านหลักสี่ ข้อมูลผู้ติดเชื้อจากการรายงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (22 มิ.ย.) พบผู้ติดเชื้อจำนวน 661 ราย โดยจังหวัดที่พบมากสุด คือ กรุงเทพมหานคร
หากรู้สึกไม่สบาย คล้ายเป็นหวัด ให้สังเกตตัวเอง หากมีอาการน่าสงสัยให้รีบไปพบแพทย์
โควิดสายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ)
สำหรับโควิดสายพันธุ์อัลฟ่า พบการติดเชื้อในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2564 โดยนายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดเผยข้อมูลการรายงานขององค์กรสาธารณสุขประเทศอังกฤษ (Public Health England) และองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าสายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ) เป็นสายพันธุ์ที่มีการแพร่กระจายเชื้อได้ง่ายกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมถึง 1.7 เท่า
อาการจากโควิดสายพันธุ์อัลฟ่า
หากพบอาการข้างต้น ให้รีบพบแพทย์เพื่อรับการตรวจให้ได้ผลที่แน่ชัดโควิดสายพันธุ์เบต้า (แอฟริกาใต้)
ส่วนโควิดสายพันธุ์เบต้าพบการระบาดในประเทศไทยครั้งแรกในพื้นที่ภาคใต้ จากอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยได้รับเชื้อจากผู้ลักลอบเข้าเมือง และพบผู้ติดเชื้อครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา
นายแพทย์ศุภกิจเปิดเผยว่า สายพันธุ์เบต้ามีการแพร่กระจายเชื้อไม่รวดเร็วเท่าสายพันธุ์เดลต้าและอัลฟ่า แต่อย่างไรก็ตาม สายพันธุ์เบต้าอาจทำให้เกิดอาการป่วยหรือเสียชีวิตได้มากกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม
ใครยังไม่ได้ฉีด ระวังตัวกันดี ๆ อย่าให้ติด มีโอกาสป่วยหนัก มากกว่าคนฉีด
เทียบอาการโควิดสายพันธุ์เดลต้า อัลฟ่า เบต้า พบเชื้อในไทย
โควิด 3 สายพันธุ์ ระบาดในไทย ความสามารถในการแพร่เชื้อและแสดงอาการบางอย่างที่ต่างกัน
ปัจจุบันประเทศไทยพบการระบาดของเชื้อโควิด-19 ทั้งสิ้น 3 สายพันธุ์ด้วยกัน ได้แก่ สายพันธุ์เดลต้า (อินเดีย) สายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ) และสายพันธุ์เบต้า (แอฟริกาใต้) แต่ละสายพันธุ์จะมีประสิทธิภาพในการแพร่กระจายเชื้อที่แตกต่างกัน รวมไปถึงอาการของผู้ติดเชื้อที่พบในเชื้อชนิดหนึ่ง แต่กลับไปพบในเชื้ออีกชนิดหนึ่ง
โควิดสายพันธุ์เดลต้า (อินเดีย)
เริ่มกันที่โควิดสายพันธุ์เดลต้า ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รายงานเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา พบผู้ติดเชื้อจำนวน 661 ราย โดยโควิดสายพันธุ์นี้ถูกค้นพบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย พบการแพร่กระจายไปแล้วกว่า 92 ประเทศทั่วโลก อีกทั้งยังถูกจับตามองว่าเป็นโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่จะมาแทนที่สายพันธุ์อัลฟ่าที่กำลังเป็นสายพันธุ์หลักที่ระบาดในประเทศไทยในขณะนี้
ส่วนการพบเชื้อในประเทศไทยครั้งแรกที่บ้านพักคนงานย่านหลักสี่ ข้อมูลผู้ติดเชื้อจากการรายงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (22 มิ.ย.) พบผู้ติดเชื้อจำนวน 661 ราย โดยจังหวัดที่พบมากสุด คือ กรุงเทพมหานคร
- โควิดสายพันธุ์อินเดียพุ่ง 661 ราย กทม.เจออีก 87 ราย
- โควิดสายพันธุ์เดลต้า ถล่มอังกฤษ อิสราเอล ออสเตรเลีย
- พบโควิดสายพันธุ์เดลต้าที่ศิริราชเกินครึ่ง หมอนิธิพัฒน์หวั่นเป็นระลอก 4
- เดลต้าพลัส โควิดกลายพันธุ์ในอินเดียน่ากลัวแค่ไหน ?
- ปวดหัว
- เจ็บคอ
- มีน้ำมูก
- ไม่ค่อยพบการสูญเสียการรับรส
- อาการคล้ายเป็นหวัดธรรมดา
หากรู้สึกไม่สบาย คล้ายเป็นหวัด ให้สังเกตตัวเอง หากมีอาการน่าสงสัยให้รีบไปพบแพทย์
โควิดสายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ)
สำหรับโควิดสายพันธุ์อัลฟ่า พบการติดเชื้อในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2564 โดยนายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดเผยข้อมูลการรายงานขององค์กรสาธารณสุขประเทศอังกฤษ (Public Health England) และองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าสายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ) เป็นสายพันธุ์ที่มีการแพร่กระจายเชื้อได้ง่ายกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมถึง 1.7 เท่า
อาการจากโควิดสายพันธุ์อัลฟ่า
- มีไข้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
- เจ็บคอ
- หายใจหอบเหนื่อย
- ปวดตามร่างกายและศีรษะ
- การรับรสหรือการได้รับกลิ่นผิดปกติ
หากพบอาการข้างต้น ให้รีบพบแพทย์เพื่อรับการตรวจให้ได้ผลที่แน่ชัดโควิดสายพันธุ์เบต้า (แอฟริกาใต้)
ส่วนโควิดสายพันธุ์เบต้าพบการระบาดในประเทศไทยครั้งแรกในพื้นที่ภาคใต้ จากอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยได้รับเชื้อจากผู้ลักลอบเข้าเมือง และพบผู้ติดเชื้อครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา
นายแพทย์ศุภกิจเปิดเผยว่า สายพันธุ์เบต้ามีการแพร่กระจายเชื้อไม่รวดเร็วเท่าสายพันธุ์เดลต้าและอัลฟ่า แต่อย่างไรก็ตาม สายพันธุ์เบต้าอาจทำให้เกิดอาการป่วยหรือเสียชีวิตได้มากกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม
- โควิดสายพันธุ์แอฟริกาใต้ แพร่กระจายเร็ว อาการรุนแรง ดื้อวัคซีน
- นักวิทยาศาสตร์ถอดรหัสเชื้อโควิด พบสายพันธุ์แอฟริกาใต้จากคลัสเตอร์ตากใบ นราธิวาส
- ปวดเมื่อยตามร่างกาย
- เจ็บคอ
- ท้องเสีย
- ปวดศีรษะ
- ตาแดง
- การรับรสหรือการได้รับกลิ่นผิดปกติ
- มีผื่นขึ้นบริเวณผิวหนัง หรือนิ้วมือนิ้วเท้าเปลี่ยนสี
ใครยังไม่ได้ฉีด ระวังตัวกันดี ๆ อย่าให้ติด มีโอกาสป่วยหนัก มากกว่าคนฉีด
Comment