Announcement

Collapse
No announcement yet.

ชาว INTEL AMD NVIDIA ทุกท่านตกลงจะลงทะเบียนฉีดวัคซีนโควิด กันไม้

Collapse
This topic is closed.
X
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • คาดมีสิ่งปนเปื้อนขณะบรรจุขวด เหตุ "สโตรก" หลังฉีดซิโนแวค

    09:35 | 22 เมษายน 2564 | 1,336แบ่งปัน ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา เผยอาจมีสิ่งปนเปื้อนในขณะเตรียม หรือบรรจุขวดวัคซีน Sinovac เหตุผู้ได้รับวัคซีนบางรายมีอาการคล้ายหลอดเลือดสมอง เตรียมติดต่อบริษัทผู้ผลิตถึงความผิดปกติ ชี้ฉีดต่อได้ แต่ต้องเฝ้าระวังอย่างน้อย 24 ชั่วโมงหลังกลับบ้าน

    จากกรณีผู้ได้รับวัคซีน COVID-19 ของ Sinovac ส่วนหนึ่งเกิดอาการคล้ายอัมพฤกษ์ ซึ่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบุว่า เป็นอาการทางระบบประสาทมากน้อยแตกต่างกัน และบางรายอาการคล้ายหลอดเลือดสมอง หรือสโตรก ซึ่งทั้งหมดเป็นอาการชั่วคราวและหายเป็นปกติภายใน 1-3 วัน

    วันนี้ (22 เม.ย.2564) ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า ถึงแม้วัคซีนจะมีผลข้างเคียง แต่ต้องขอบพระคุณอาจารย์หมอทางสมองหลายคน ทั้งที่ ระยอง ลำปาง ศรีราชา อุบลราชธานี โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และโรงพยาบาลเอกชน รวมทั้งอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์ และสถาบันประสาทวิทยา ซึ่งได้อธิบายว่า ลักษณะที่เกิดขึ้นทำให้เส้นเลือดเกร็งและหดตัว เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อสมองไม่เพียงพอ อาจเกิดขึ้นจนทำให้มีอาการเฉพาะส่วนได้ และพิสูจน์แล้วจากการสอดสายฉีดสีเข้าเส้นเลือดสมองและให้ยาขยายเส้นเลือด พบว่า ผู้ป่วยอาการดีขึ้นทันที

    ในขณะเดียวกันต้องระวังว่า หากเส้นเลือดเกร็งและหดตัวนานจะเกิดเส้นเลือดตันซ้ำซ้อน รวมถึงเนื้อสมองตายถาวร ซึ่งจำเป็นต้องใช้ยาละลายลิ่มเลือด และหลายแห่งใช้วิธีนี้พบว่าผู้ป่วยดีขึ้นเช่นกัน

    ศ.นพ.ธีระวัฒน์ ระบุว่า การเกิดอาการดังกล่าวไม่น่าจากตัววัคซีน แต่อาจมีสิ่งปนเปื้อนในขณะเตรียม หรือการบรรจุขวด ซึ่งทางการจะติดต่อบริษัทผู้ผลิตถึงความผิดปกตินี้ ซึ่งเอกสารแนบส่วนประกอบของวัคซีนจะไม่สามารถอธิบายสิ่งปนเปื้อนเหล่านี้

    ขั้นตอนที่ต้องทำ คือ ฉีดวัคซีนต่อและเตรียมการเฝ้าดูอาการอย่างน้อย 30 นาที และมีข้อระวังตัวอีกอย่างน้อย 24 ชั่วโมงเมื่อกลับบ้านแล้ว เพื่อให้สามารถรักษาได้ทัน
    ยาที่ขยายหลอดเลือดทุกโรงพยาบาลมีอยู่แล้ว ทั้งที่เป็นกิน และถ้าไม่ได้ผลจะเป็นในรูปการสอดใส่สายเข้าในเส้นเลือดเพื่อให้ยาขยายหลอดเลือด


    สำหรับโรคดังกล่าวทราบดีมาแต่โบราณ vasospaatic amaurosis fugax ที่ตาบอดข้างเดียว หรือ 2 ข้าง และ reversible cerebral vasoconstriction syndrome" (RCVS) ซึ่งมีลักษณะทับซ้อนกับ PRES posterior reversible encephalopathy รวมทั้งไมเกรนที่มีผลแทรกซ้อน ทางหลอดเลือดเกร็ง กลุ่มอาการเหล่านี้แม้ว่าส่วนมากจะกลับคืนมาได้เอง ซึ่งอธิบายได้ว่าเหตุใดการตรวจคอมพิวเตอร์สมอง CT หรือคอมพิวเตอร์สนามแม่เหล็ก MRI จะไม่พบความผิดปกติ 70% แต่ผู้ป่วยที่มีการหดเกร็งนาน โดยเฉพาะในกรณีของวัคซีนนี้จะทำให้เส้นเลือดตันและเกิดความพิการถาวรได้

    Comment


    • วัคซีนจากประเทศอื่นจะอวดอ้างว่าดี ก็ต้องให้ เข้า WHO มาก่อนให้เค้ารับรองให้ผ่านก่อน
      ประเทศอื่นถึงจะกล้าใช้ ประเทศเค้าผลิตเอง ให้ใช้คนชาติเอง มันสิทธิของเค้าและก็ดีได้ทดลองดุผลข้างเคียงให้ชัดเจน
      แล้ว มาเข้า who ให้เค้ารับรองอีกครั้ง มันยังเร้วไปที่จะอวดอ้างสรรพคุณ เดี่ยวก็ซ้ำรอย ซีโนแวค
      อีก ที่มีพวกอวย ๆๆๆๆ ว่าจีนไม่ติดโควิดดีกว่าอเมริกา เพราะฉีดซีโนแวค ซีโนฟาร์ม
      พอออกไปเตะบอล นอกประเทศ กลับทำผลงานห่วยแตก
      ประเทศที่ใช้ ซีโนแวค หนีตายสั่งวัคซีน ฝรั่งกันเป็นแถว
      Last edited by micronz; 20 Jul 2021, 14:12:34.

      Comment


      • ผลวิจัยชิลีชี้'วัคซีนซิโนแวค'ป้องกันโควิดได้น้อยกว่า'วัคซีนไฟเซอร์'



        9 กรกฎาคม 2564
        1,068ผลวิจัยชิลีชี้'วัคซีนซิโนแวค'ป้องกันโควิดได้น้อยกว่า'วัคซีนไฟเซอร์' เมื่อมีการทดลองเปรียบเทียบการฉีด 2 โดสในประเทศชิลี


        ผลการวิจัยล่าสุดซึ่งตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์ของอังกฤษ(The New England Journal of Medicine) ระบุว่า วัคซีนของบริษัทซิโนแวค ไบโอเทค มีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้น้อยกว่าวัคซีนของบริษัทไฟเซอร์ อิงค์ เมื่อมีการทดลองเปรียบเทียบการฉีด 2 โดสในประเทศชิลี

        ผลการวิจัยระบุว่า วัคซีน “โคโรนาแวค” จากบริษัทซิโนแวคของจีนมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคโควิด-19 เพียง 66% เมื่อเทียบกับวัคซีนของไฟเซอร์-บิออนเทคซึ่งมีประสิทธิภาพในการป้องกันสูงถึง 93%

        ผลการวิจัยยังพบว่า เมื่อมีการฉีดวัคซีนครบ 2 โดส วัคซีนของซิโนแวคมีประสิทธิภาพในการป้องกันการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลและการเสียชีวิตได้น้อยกว่าวัคซีนของไฟเซอร์ซึ่งใช้เทคโนโลยี mRNA โดยที่ผ่านมา ชิลีมีการฉีดวัคซีนซิโนแวคให้กับประชาชนมากกว่า 10 ล้านคน ขณะที่ฉีดวัคซีนไฟเซอร์ให้กับประชาชนในจำนวนที่น้อยกว่า 5 แสนคน

        การวิจัยดังกล่าวได้จัดทำขึ้นในเดือนก.พ.จนถึงเดือนพ.ค.ปีนี้ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีการตรวจพบไวรัสสายพันธุ์อัลฟาและแกมมามากที่สุดในประเทศชิลี

        กระทรวงสาธารณสุขของชิลีเปิดเผยว่านับจนถึงวันที่ 10 พ.ค. กระทรวงฯได้ฉีดวัคซีนของบริษัทซิโนแวคให้กับประชาชนที่มีอายุ 16 ปีขึ้นไปแล้วเกือบ 14 ล้านโดส ซึ่งเพียงพอที่จะสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนจำนวน 6.36 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ชิลีได้ฉีดวัคซีนของไฟเซอร์-บิออนเทคให้กับประชาชนเพียง 2.4 ล้านโดส

        Comment


        • ประเทศที่ใช้ซีโนแวค ผลลัพธ์ ก็ออกมาเหมือนกันหมด ว่าประสิทธิภาพด้อยเกินไปเมื่อเจอเดลต้า
          แค่ ประสิทธิภาพ 55*/* เมื่อเจอ อู๋ฮั่นก็ต่ำพอละ

          ปัจจุบันจึงสรุปได้ ว่าวัคซีนตัวไหนคือแรงอวย ที่แท้จริงที่เอาประเทศจีน ไปเทียบกับอเมริกา ทีี่มีคนติดโควิดตายก็เยอะ
          เพราะไม่ฉีดวัคซีนเกิน 50*/* ทั้งที่มีวัคซีนเหลือๆๆแล้วมีคนไปสรุปว่า วัคซีนจีนดีกว่า โดยไม่สน ประสิทธิภาพที่เค้าแจ้ง
          มาแต่แรกเป้นตัวเลข วิชาการ ว่าตัวไหนสูงตัวไหนต่ำ ดีเพราะอวย จนทำให้คนไขว้เขวว่าดีแต่ไม่เป็นเรือ่งจริง สุดท้าย
          กันตายก็เอาไม่ค่อยอยู่
          Last edited by micronz; 20 Jul 2021, 14:30:06.

          Comment


          • มีข่าวจีนเจอ เดลต้าบุกเมืองชายแดนที่ติดกับพม่า
            ทางการจีนสั่งควบคุมการเข้าออกแล้ว เห็นว่าพรมแดนเวียตนามก็ด้วย

            ภายใน 1-2 อาทิตย์ถ้าไม่เห็นผล อาจมีระบาดใหญ่แถวนั้นเป็นข่าว
            ขอให้คุมอยู่เหอะ ถ้าไม่อยู่ เราคงต้องเท SINOVAC ตามคนอื่นๆ
            เลิกสั่งเพิ่มแบบมาเลเซีย

            Comment


            • อินโดฯ กับมาเลย์ฯ ที่ใช้sinovac เหมือนๆเราและเป็นแหล่งทดลองใหญ่ของ sv ก็กำลังลดการใช้ลงนะครับ มาเลย์นี่ประกาศเลิกใช้เลยด้วยซ้ำ

              มันชัดเจนมากๆว่าตอนนี้สู้delta ไม่ได้ ในขณะที่ mRNA อย่างของไฟเซอร์มันยังสู้ได้อยู่ มันไม่100%ก็จริง แต่มันก็ต่างกันเยอะ

              หรือแม้แต่จีนเอง การที่ยอมออกข่าวว่ากำลังพัฒนา mRNA และจะฉีดเป็นบูสเตอร์ให้คนจีนด้วยกัน ก็เป็นการยอมรับในตัว ว่าวัคซีนเชื้อตายมันสู้การกลายพันธุ์ใหม่ๆไม่ทัน แต่ที่ไม่ทำมาก่อนหน้า เพราะไม่มีเทคโนโลยีการผลิต ไปอ่านอีกที่นึงว่า mRNA การผลิตจะติดคอขวดที่ Lipid nano particle ที่พาRNA เข้าไป ติดสิทธิบัตรหลายตัว ทำให้มีผู้ผลิตได้ไม่กี่เจ้า

              ที่จีนจำต้องร่วมทุน fosun กับ BioNtech ก็เพื่อให้ได้สิทธิ์การใช้ตัวนี้ด้วย(คือจีนผลิตเองไม่ได้) รวมไปถึงน่าจะเพื่อแกมบังคับให้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน mRNA (ของไทยเองที่กำลังพัฒนา ก็ไปจ้างโรงงานที่เมกาผลิตตัวทดสอบ)

              แต่วัคซีน mRNA จากจีนที่พัฒนาขึ้นเอง Walvax(คนละตัวกับ fosun-BioNtech ที่เป็นอันเดียวกับไฟเซอร์แค่คนละชื่อ)จะได้ผลไหมก็ต้องรอดูงานวิจัย เพราะ CureVac ของเยอรมันก็ล้มเหลวไปแล้ว

              ส่วนบ้านเรา ถ้าจะลดการระบาดให้เร็วที่สุด ก็ต้องเลือกวัคซีนที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในปัจจุบันมาให้ให้เร็วที่สุดครับ ไม่ต้องมามัวปกป้องวัคซีนที่ประเทศอื่นกำลังเลิกใช้กัน

              Comment


              • SII INDIA ผลิตวัคซีนตัวที่ 3 แล้วครับ กันยายน เค้าจะผลิต sputnik V เองแล้วครับ
                โดยจะผลิตปีละ 300 ล้านโด๊ส ทำให้ SII จะมี OUTPUT

                - AZ 800-1000 ล้าน
                - NOVAVAX COVOVAX 300 ล้าน
                - SPUNIK V 300 ล้าน
                เมื่อวานมีข่าว US จะบริจาค MODENA ให้อินเดีย
                และจัสนับสนุนวัตถุดิบให้ INDIA อย่างเต็มที่
                เพื่อให้สามารถขยายกำลังการผลิต และกลับมาป้อนเข้า COVAX
                ให้เร็วที่สุด


                https://indianexpress.com/article/in...itute-7402591/

                Sputnik too in Serum stable, plans 300 million doses a year

                Russia's Sputnik V vaccine, developed by Gamaleya National Research Institute of Epidemiology and Microbiology in Moscow, was granted emergency use authorisation in India in May.



                Written by Prabha Raghavan , Anuradha Mascarenhas | New Delhi |

                Updated: July 14, 2021 7:32 am

                The Centre had fixed the price of the vaccine at Rs 1,145 per dose.

                Covishield-maker Serum Institute of India (SII) has added yet another brand to its growing portfolio of Covid-19 vaccines, unveiling plans on Tuesday to manufacture Russia’s Sputnik V over the next two months.

                SII’s addition to a growing list of Indian partners for Sputnik V would enable the country to churn out over a billion doses of the Russian vaccine every year. It is also likely to help improve supply of the vaccine in India, where a soft launch has already taken place through vials imported from Russia but doses from most domestic manufacturers are still awaited.

                Explained |How Sputnik V works against Covid-19, and how effectively
                SII, through its partnership with the Russian Direct Investment Fund (RDIF), intends to produce over 300 million doses of Sputnik V per year, said Russia’s sovereign wealth fund in a statement. This takes India’s annual production capacity of this vaccine to nearly 1.2 billion doses a year.

                The Pune-headquartered vaccine maker has already received samples of the cell and vector — crucial components to make the vaccine — from the Gamaleya Research Institute of Epidemiology and Microbiology as part of the technical transfer process. The cultivation process has already begun.

                “We hope to make millions of doses in the coming months with trial batches starting in the month of September,” said SII CEO Adar Poonawalla.

                “We expect the ramp-up to be quite quick…we’ve actually been working with Serum for the last three months,” said RDIF CEO Kirill Dmitriev.

                Comment


                • Originally posted by Fourpoint View Post
                  อินโดฯ กับมาเลย์ฯ ที่ใช้sinovac เหมือนๆเราและเป็นแหล่งทดลองใหญ่ของ sv ก็กำลังลดการใช้ลงนะครับ มาเลย์นี่ประกาศเลิกใช้เลยด้วยซ้ำ

                  มันชัดเจนมากๆว่าตอนนี้สู้delta ไม่ได้ ในขณะที่ mRNA อย่างของไฟเซอร์มันยังสู้ได้อยู่ มันไม่100%ก็จริง แต่มันก็ต่างกันเยอะ

                  หรือแม้แต่จีนเอง การที่ยอมออกข่าวว่ากำลังพัฒนา mRNA และจะฉีดเป็นบูสเตอร์ให้คนจีนด้วยกัน ก็เป็นการยอมรับในตัว ว่าวัคซีนเชื้อตายมันสู้การกลายพันธุ์ใหม่ๆไม่ทัน แต่ที่ไม่ทำมาก่อนหน้า เพราะไม่มีเทคโนโลยีการผลิต ไปอ่านอีกที่นึงว่า mRNA การผลิตจะติดคอขวดที่ Lipid nano particle ที่พาRNA เข้าไป ติดสิทธิบัตรหลายตัว ทำให้มีผู้ผลิตได้ไม่กี่เจ้า

                  ที่จีนจำต้องร่วมทุน fosun กับ BioNtech ก็เพื่อให้ได้สิทธิ์การใช้ตัวนี้ด้วย(คือจีนผลิตเองไม่ได้) รวมไปถึงน่าจะเพื่อแกมบังคับให้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน mRNA (ของไทยเองที่กำลังพัฒนา ก็ไปจ้างโรงงานที่เมกาผลิตตัวทดสอบ)

                  แต่วัคซีน mRNA จากจีนที่พัฒนาขึ้นเอง Walvax(คนละตัวกับ fosun-BioNtech ที่เป็นอันเดียวกับไฟเซอร์แค่คนละชื่อ)จะได้ผลไหมก็ต้องรอดูงานวิจัย เพราะ CureVac ของเยอรมันก็ล้มเหลวไปแล้ว

                  ส่วนบ้านเรา ถ้าจะลดการระบาดให้เร็วที่สุด ก็ต้องเลือกวัคซีนที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในปัจจุบันมาให้ให้เร็วที่สุดครับ ไม่ต้องมามัวปกป้องวัคซีนที่ประเทศอื่นกำลังเลิกใช้กัน

                  ผมได้คิว คาดว่าอีกไม่นาน ฉีดสูตรหนูลองยา หมอยง ก่อนครับ
                  ซีโนกาก+แอสตร้า จําใจฉีด
                  เพราะโมเดอน่าโดนกั้กไว้จ่ายเงินและ
                  แต่เผอๆ มาปีหน้า เกิดเป็นคนไทย คุณภาพชีวิต ต่ำต้อยจริงๆๆ


                  Last edited by micronz; 20 Jul 2021, 20:16:08.

                  Comment


                  • Comment


                    • Comment


                      • อ่านไปอ่านมา US ยังได้เจรจาให่ SII ผลิต วัคซีน J&J ด้วย
                        เอาเท่าที่สรุปได้กล่าวคือ SII สามารถผลิตวัคซีน 3 ชนิดนี้ได้
                        เพราะเป็นกลุ่ม VIRUS VECTOR ทั้งนั้น ทำให้ถ้าแผนนี้ผ่าน
                        SII จะผลิตวัคซีนถึง 4 ชนิด
                        800+300+300+300 หรือ 1500-2000 ล้าน ต่อปี
                        ได้ และรับผิดชอบพื้นที่แถบนี้ และ COVAX ได้เกือบหมด
                        และเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในปี 2022


                        US eyes joint production of J&J vaccine in India, in touch with SII

                        Last month, the White House said the US plans to share 60 million doses of AstraZeneca’s vaccine globally as soon as they become available, and India had expected a significant chunk of the stockpile.


                        By: Express News Service | New Delhi |
                        Updated: May 12, 2021 7:20 am


                        A vial of the Johnson & Johnson Covid-19 vaccine. (AP)

                        The US is looking at joint production of Johnson and Johnson’s Covid vaccine in India and ways to help manufacturers like Serum Institute of India (SII) to boost production, Daniel B Smith, Charge d’Affaires of the US Embassy, said Tuesday.

                        Smith also said that the efficacy of AstraZeneca’s vaccine, manufactured at a production facility in Baltimore, is not clear and the US Food and Drug Administration has not yet certified those doses.

                        Last month, the White House said the US plans to share 60 million doses of AstraZeneca’s vaccine globally as soon as they become available, and India had expected a significant chunk of the stockpile.

                        Speaking at a media briefing, Smith said the US was concerned over the Covid situation in India, “not simply because of the humanitarian catastrophe but the fact that it has global implications”.

                        “I know that there are a number of doses of the AstraZenecavaccine (with the US). They were manufactured…at a plant outside of Baltimore but there were problems with this plant. So far the Food and Drug Administration of the US has not certified that these vaccines are available for anyone’s use, for export or not,” Smith said in response to a question.

                        Smith, who recently served as acting Secretary of State and acting Deputy Secretary of State, was appointed as Charge d’Affaires recently.

                        To a question on joint production of vaccines, Smith said the setting up of joint production takes time and that the US was looking at how it can invest in boosting production.


                        “Our development finance cooperation is looking at how we can invest so that we can help produce Johnson and Johnson’s vaccine here in India. And I know that there are some private sector production talks that are underway from pharmaceutical companies to pharmaceutical companies,” he said.

                        “We are determined to do all we can as a government to encourage licensing and encourage more production and if there is a need for capital, we will look at what we can provide and whether we can provide assistance,” he said.

                        Smith said India’s role in the production of Covid vaccines is critical. “I think we are watching carefully the production levels at the SII and elsewhere. We’ve been in close touch with the SII to try to determine what raw materials we could provide, and assistance that we can provide to help boost production,” he said.

                        The US has been in touch with multiple vaccine manufacturers in the country.

                        “We want to do all we can to boost that production because I have heard from some of my colleagues in neighbouring countries, from the government of Bhutan, about their concern that India, of course, is having to divert a lot of its existing production to its own domestic needs, which is absolutely understandable,” he said.



                        “But in the same token, it means a lot of these countries are at risk that they will not get a second round of this vaccination. So we are looking to partner with other countries, we are looking at what we can do both to boost the production here in India but also to make up for whatever shortfall exists as a result of India’s own dire need for these vaccines,” he said.

                        As India reeled from a devastating second wave of infections, the US deployed six planeloads of life-saving supplies in support of the fight against the pandemic. The US government’s assistance to India is estimated at USD 100 million.

                        Smith said there was a need to work closely to address issues relating to the supply chain.

                        “A lot of the companies that manufacture key components and raw materials are located in the US, but many are not. So we are going to have to work together as a global community to address some of these supply chain issues and challenges that we face as we go forward,” he said.

                        Comment


                        • Originally posted by THEFOOL View Post
                          คนจะฉีดเพียบจะ
                          แต่วัคซีนมีไม่พอ ปัญหา ตอนนี้ไม่ใช่คนไม่ฉีดแล้วนะจ้ะ
                          คนจะฉีดไม่ว่าตัวอะไร แต่วัคซีนทั้งซีโนแวค + แอสตร้าเข้มสอง ฉีดได้ช้า และเหมือนวัคซีนไม่พอ

                          --------------------------
                          วันนี้ ต้องไปยื่นหนังสือ ที่สถานทูตอเมริกา ขอ เจเจ โมเดอน่า
                          วัคซีนหมดอายุแล้วครับ วัคซีนอะไรก็ได้แล้ว ใกล้หมดอายุ แล้ว เดร้ออ
                          Last edited by micronz; 20 Jul 2021, 23:01:20.

                          Comment


                          • ไม่รอดแน่ตู

                            Comment


                            • Originally posted by 111111 View Post
                              ไม่รอดแน่ตู
                              อั่นอยู่ กทม. เหรอ
                              ----------------------------
                              วันนี้พยาบาลกระโดด ตึกตายและเครียด คนตาย ที่ภาคกลางมีทุกวัน วัคซีนซีโนแวค ซึ่งจะฉีดก็ช้า
                              แถมฉีัดไปเข้มแรก ยังกันตายเอาไม่อยู่ สภาวะ ตอนนี้////ก่อนหน้าดัน แทงม้าสองตัว รบกะเชื้อโรค แถมไปเชื่อจีน ไม่เชื่อค่าตัว
                              เลขประสิทธิภาพวัคซีนที่ทางวิทย์บอกมาว่า mRNA 90*/* แอสตร้าส่งได้เดือนละ สามล้านโดส โปะ กะ ซีโนแวค
                              พอเจอเดลต้า ซีโนแวคแทบกลายเป้นขวดน้ำเกลือ ผมเลยตาย*** ทุกวัน



                              แอสตร้าเซนากร้าคร่าวๆๆผลิตได้เดือนละ 15 ล้านโดส ต้องส่งออกนอกประเทศไป เหลือส่งภายในประเทศกี่ล้านโดสนะ
                              ข่าวว่าเดือนละ 3 ล้าน เหอะๆๆ ถ้าผิดพลาดขออภัย

                              Last edited by micronz; 20 Jul 2021, 23:06:23.

                              Comment



                              • อ้าว ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

                                Comment

                                Working...
                                X