เริ่มต้นด้วย ปลั๊กราคาถูก
![](http://img2.uploadhouse.com/fileuploads/17422/17422791a8b4e533f11ead31c54dbf751a831b41.jpg)
ข้างหลังโล่งๆ
![](http://img1.uploadhouse.com/fileuploads/17422/17422792d0c0c32123553b33a0eff48080e19a47.jpg)
ใช้สายไฟขนาด 0.5 มิล
![](http://img2.uploadhouse.com/fileuploads/17422/17422794c138878550b03e09c5452d6dae457379.jpg)
ขาเสียบทองเหลือง ดูด้วยตารู้สึกบางกว่าปกตินิดๆ
เท่าที่ลองเสียบกับเต้ารับต่างๆ พบว่าเสียบได้ลื่นๆครับ
ซึ่งเวลาใช้งาน ถ้าเจอเสียบลื่นๆแบบนี้ ควรบีบดัดให้เสียบแล้วฟิตๆครับ
![](http://img4.uploadhouse.com/fileuploads/17422/1742279613ab24573cb30881d8cb19a9461f95a2.jpg)
ปลั๊กพ่วงราคาถูกแบบนี้ ใช้พลาสติกที่เปราะมาก
ถ้าเอาสายไฟมัดติดกับปลั๊กนานๆ พลาสติกจะหลอมละลายเป็นร่องสายไฟ
ผมไขออกมาดูไส้บ่อย เจอว่าเนื้อพลาสติกที่เป็นเกลียวจะหลุดออกมาด้วย ทำให้เกลียวหวาน
เพื่อไม่ให้เสียของ ดังนั้น ตัวนี้ขอไม่แงะให้ดู อิ อิ
แต่ดูแบบสอดส่ายตามรูเต้ารับ พบว่าเป็นทองเหลืองที่ไม่บางนัก ถือว่าพอใช้ได้ครับ
วัดความยาวสายไฟได้ 185 ซม. (จำไม่ได้ว่าเค้าระบุ 1.8 ม. หรือ 2 ม.)
ตัวนี้มีฟิวส์อนุกรมกับสวิทซ์
วัดความต้านทานสายไฟเส้นที่ไม่ผ่านสวิทซ์ได้ 102 miliohm ถือว่าดี
วัดความต้านทานสายไฟเส้นที่ผ่านสวิทซ์ได้ 510 miliohm ถือว่าไม่ดี
วัด V drop ได้ 703 mV ถือว่าดีครับ
ซึ่งถ้าเราคำนวณจากความต้านทานสายไฟที่วัดได้
V drop ควรมากกว่านี้
ก็เลยนึกได้ว่า หลังการวัดความต้านทาน ผมได้ถอดฟิวส์ออกมา เป็นฟิวส์ 10A
จะถ่ายรูปให้ดู แต่มันเห็นยากก็เลยไม่ได้ถ่ายรูป
พอใส่กลับลงไป ขันแน่นกว่าเดิม(มั้ง) ก็เลยทำให้ความต้านทานไฟฟ้าดีขึ้น ?
หรืออาจเป็นที่สวิทซ์ก็ได้ครับ
![](http://img2.uploadhouse.com/fileuploads/17422/17422791a8b4e533f11ead31c54dbf751a831b41.jpg)
ข้างหลังโล่งๆ
![](http://img1.uploadhouse.com/fileuploads/17422/17422792d0c0c32123553b33a0eff48080e19a47.jpg)
ใช้สายไฟขนาด 0.5 มิล
![](http://img2.uploadhouse.com/fileuploads/17422/17422794c138878550b03e09c5452d6dae457379.jpg)
ขาเสียบทองเหลือง ดูด้วยตารู้สึกบางกว่าปกตินิดๆ
เท่าที่ลองเสียบกับเต้ารับต่างๆ พบว่าเสียบได้ลื่นๆครับ
ซึ่งเวลาใช้งาน ถ้าเจอเสียบลื่นๆแบบนี้ ควรบีบดัดให้เสียบแล้วฟิตๆครับ
![](http://img4.uploadhouse.com/fileuploads/17422/1742279613ab24573cb30881d8cb19a9461f95a2.jpg)
ปลั๊กพ่วงราคาถูกแบบนี้ ใช้พลาสติกที่เปราะมาก
ถ้าเอาสายไฟมัดติดกับปลั๊กนานๆ พลาสติกจะหลอมละลายเป็นร่องสายไฟ
ผมไขออกมาดูไส้บ่อย เจอว่าเนื้อพลาสติกที่เป็นเกลียวจะหลุดออกมาด้วย ทำให้เกลียวหวาน
เพื่อไม่ให้เสียของ ดังนั้น ตัวนี้ขอไม่แงะให้ดู อิ อิ
แต่ดูแบบสอดส่ายตามรูเต้ารับ พบว่าเป็นทองเหลืองที่ไม่บางนัก ถือว่าพอใช้ได้ครับ
วัดความยาวสายไฟได้ 185 ซม. (จำไม่ได้ว่าเค้าระบุ 1.8 ม. หรือ 2 ม.)
ตัวนี้มีฟิวส์อนุกรมกับสวิทซ์
วัดความต้านทานสายไฟเส้นที่ไม่ผ่านสวิทซ์ได้ 102 miliohm ถือว่าดี
วัดความต้านทานสายไฟเส้นที่ผ่านสวิทซ์ได้ 510 miliohm ถือว่าไม่ดี
วัด V drop ได้ 703 mV ถือว่าดีครับ
ซึ่งถ้าเราคำนวณจากความต้านทานสายไฟที่วัดได้
V drop ควรมากกว่านี้
ก็เลยนึกได้ว่า หลังการวัดความต้านทาน ผมได้ถอดฟิวส์ออกมา เป็นฟิวส์ 10A
จะถ่ายรูปให้ดู แต่มันเห็นยากก็เลยไม่ได้ถ่ายรูป
พอใส่กลับลงไป ขันแน่นกว่าเดิม(มั้ง) ก็เลยทำให้ความต้านทานไฟฟ้าดีขึ้น ?
หรืออาจเป็นที่สวิทซ์ก็ได้ครับ
Comment