Views: 297,858
23 Feb 2018 06.12.37
Views: 295,767
12 Feb 2018 14.51.49
Views: 292,572
28 Jan 2018 06.10.23
Views: 290,933
21 Jan 2018 06.09.39
Views: 289,566
15 Jan 2018 10.41.54
Views: 288,717
12 Jan 2018 12.14.53
# 3426
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนวิชาชีพที่หลากหลาย มุ่งเสริมความรู้ ความสามารถ โดยบุคลากรที่มีความรู้ ความชำนาญ
พันธกิจที่ 1 พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา
พันธกิจที่ 2 พัฒนาระบบคุณธรรม จริยธรรม และระบบการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ และทันสมัย
พันธกิจที่ 3 พัฒนาเพื่อยกระดับระบบบริหารจัดการภายในวิทยาลัย
พันธกิจที่ 4 พัฒนาระบบความร่วมมือทั้งในและนอกสถานศึกษา
พันธกิจที่ 5 พัฒนาหลักสูตรสู่สมรรถนะวิชาชีพระยะสั้น
1. นักศึกษามีความรู้ ความชำนาญตามมาตรฐานวิชาชีพ
2. ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปการสอบ
3. มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
4. สร้างงาน สร้างรายได้
5. แผนการสอนมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมทุกรายวิชา
6. บุคลากรทางการศึกษาเป็นแบบอย่างที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม
7. นักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น
8. บุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะที่เหมาะสม
9. ครู บุคลากรทางการศึกษามีระดับความชำนาญ/วิทยฐานะที่สูงขึ้น
10. ครู บุคลากรทางการศึกษามีขวัญกำลังใจ
11. มีงานวิจัยโครงการทางวิชาการ และผลผลิตทางการศึกษา
12. มีการนำผลงานวิจัย โครงการทางวิชาการ หรือนวัตกรรมไปใช้ในการทบทวน ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน
13. วิทยาลัยมีการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการภายใน เช่น งานทะเบียน งานการเงิน งานพัสดุ
14. จัดตั้งคณะกรรมการที่มาจากภาคีเครือข่ายร่วมเป็นที่ปรึกษา
เปิดทำการสอน 4 ประเภทวิชา คือ
1. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม มี 8 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
แผนกวิชาช่างเครื่องทำความเย็น
แผนกวิชาเขียนแบบก่อสร้าง
แผนกวิชาช่างพิมพ์
2. ประเภทวิชาคหกรรม มี 6 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อสตรี
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อชาย
แผนกวิชาช่างเสริมสวย
แผนกวิชาช่างตัดผม
แผนกวิชาอาหาร-ขนม
แผนกวิชาคหกรรมทั่วไป
3. ประเภทวิชาศิลปหัตถกรรม มี 4 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาศิลปประดิษฐ์
แผนกวิชาช่างภาพ
แผนกวิชาดนตรี
แผนกวิชาออกแบบโฆษณา
4. ประเภทวิชาพณิชยกรรม มี 3 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาบัญชี
แผนกวิชาเลขานุการ
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์
ใช้เวลาเรียน 3 ปีในภาคการเรียนปกติ เปิดทำการสอน 4 แผนกวิชา คือ
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
แผนกวิชาช่างอิเลคทรอนิคส์
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
นักศึกษาสามารถเทียบโอนความรู้ จากสถาบันการศึกษาเดิม หรือเรียนในหลักสูตรระยะสั้น แล้วนำหน่วยกิตมาเทียบโอน และสะสมรายวิชาไปเรื่อย ๆ จนครบ ก็สามารถได้รับวุฒิ ปวช. ได้ เปิดทำการสอน 5 แผนกวิชา คือ
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
แผนกวิชาบัญชี
การเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
1. เป็นความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา
2. ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2545
3. ใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี
4. เรียนทฤษฎีในสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ
5. เมื่อสำเร็จการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของกรมอาชีวศึกษา
และประกาศนียบัตรรับรองความสามารถจากสถานประกอบการหรือสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
6. มีรายได้ขณะที่เรียน มีโอกาสที่จะประกอบอาชีพอิสระหรือเป็นเจ้าของกิจการ
7. มีโอกาสในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
แนวทางในการศึกษาต่อ
นักศึกษาที่จบหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทวิภาคี มีศักดิ์และสิทธิ์ในการศึกษาต่อเทียบเท่ากับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทั่วไป คือสามารถศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสถาบันของรัฐและเอกชนได้ทุกสถาบัน อีกทั้งยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี และสูงกว่าปริญญาตรีในสถาบันของรัฐและเอกชนได้ทุกสถาบัน
สิทธิที่จะได้รับขณะศึกษาจากสถานศึกษา
1. การเป็นนักศึกษาของสถานศึกษา
2. การศึกษาวิชาทหาร (รด.)
3. การเรียนทฤษฎีและปฏิบัติจากสถานศึกษา
4. การตรวจสุขภาพประจำปี
5. การประกันอุบัติเหตุขณะที่ศึกษาอยู่
สิทธิที่จะได้รับขณะศึกษาจากสถานประกอบการ
1. การเป็นพนักงานของสถานประกอบการ
2. ได้รับค่าตอบแทนในการฝึกงานจากสถานประกอบการ
3. การเรียนทฤษฎีและปฏิบัติจากสถานประกอบการ
4. สวัสดิการต่าง ๆ ในฐานะผู้ฝึกหัดงาน
เอกสารการสมัครเรียน
1. สำเนาวุฒิการศึกษา (รบ.)
2. สำเนาทะเบียนบ้าน
3. สำเนาบัตรประชาชน
4. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 3 รูป
5. เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล เป็นต้น
คุณสมบัติของผู้สมัคร
1. จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม 3.) หรือเทียบเท่า
2. มีร่างกายแข็งแรงเหมาะสมกับการฝึกวิชาชีพ
3. อายุตั้งแต่ 15 ปีเป็นต้นไป
4. ไม่จำกัดเพศ
5. มีใจรักในวิชาชีพ
6. เคารพในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
การรับสมัคร
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนครมีการประสานกับองค์กรเอกชนในการส่งนักศึกษาเข้าฝึกการทำงานจริง โดยปัจจุบันวิทยาลัยได้ทำการเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทวิภาคีจำนวน 4 แผนก คือ
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส
แผนกวิชาช่างพิมพ์
รับนักเรียนจากโรงเรียนของกรมสามัญศึกษา ในระดับมัธยมตอนปลาย เรียนวิชาชีพพื้นฐาน เพื่อโอนหน่วยกิต เปิดทำ การสอน 2 ประเภทวิชา คือ
ประเภททวิชาช่างอุตสาหกรรม
ประเภทวิชาพณิชยกรรม
จากส่วนราชการอื่น ๆ เช่น สถานสงเคราะห์หญิงบ้านปากเกร็ด สถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชนบางนา จัดสอน 5 แผนกวิชา คือ
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อสตรี
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อชาย
แผนกวิชาช่างพิมพ์
แผนกวิชาช่างภาพ
แผนกวิชาช่างเสริมสวย
23 Feb 2018 06.12.37
Views: 295,767
12 Feb 2018 14.51.49
Views: 292,572
28 Jan 2018 06.10.23
Views: 290,933
21 Jan 2018 06.09.39
Views: 289,566
15 Jan 2018 10.41.54
Views: 288,717
12 Jan 2018 12.14.53
# 3426
หลักสูตร ปวช. เรียนฟรีครับ
รับจำนวนจำกัด เฉพาะผู้ที่ตั้งใจศึกษา ดีมาก ๆครับ
160116_3.jpg
160116_7.jpg
รับจำนวนจำกัด เฉพาะผู้ที่ตั้งใจศึกษา ดีมาก ๆครับ
160116_3.jpg
160116_7.jpg
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนวิชาชีพที่หลากหลาย มุ่งเสริมความรู้ ความสามารถ โดยบุคลากรที่มีความรู้ ความชำนาญ
พันธกิจที่ 1 พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา
พันธกิจที่ 2 พัฒนาระบบคุณธรรม จริยธรรม และระบบการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ และทันสมัย
พันธกิจที่ 3 พัฒนาเพื่อยกระดับระบบบริหารจัดการภายในวิทยาลัย
พันธกิจที่ 4 พัฒนาระบบความร่วมมือทั้งในและนอกสถานศึกษา
พันธกิจที่ 5 พัฒนาหลักสูตรสู่สมรรถนะวิชาชีพระยะสั้น
1. นักศึกษามีความรู้ ความชำนาญตามมาตรฐานวิชาชีพ
2. ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปการสอบ
3. มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
4. สร้างงาน สร้างรายได้
5. แผนการสอนมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมทุกรายวิชา
6. บุคลากรทางการศึกษาเป็นแบบอย่างที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม
7. นักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทางที่ดีขึ้น
8. บุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะที่เหมาะสม
9. ครู บุคลากรทางการศึกษามีระดับความชำนาญ/วิทยฐานะที่สูงขึ้น
10. ครู บุคลากรทางการศึกษามีขวัญกำลังใจ
11. มีงานวิจัยโครงการทางวิชาการ และผลผลิตทางการศึกษา
12. มีการนำผลงานวิจัย โครงการทางวิชาการ หรือนวัตกรรมไปใช้ในการทบทวน ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน
13. วิทยาลัยมีการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการภายใน เช่น งานทะเบียน งานการเงิน งานพัสดุ
14. จัดตั้งคณะกรรมการที่มาจากภาคีเครือข่ายร่วมเป็นที่ปรึกษา
เปิดทำการสอน 4 ประเภทวิชา คือ
1. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม มี 8 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
แผนกวิชาช่างเครื่องทำความเย็น
แผนกวิชาเขียนแบบก่อสร้าง
แผนกวิชาช่างพิมพ์
2. ประเภทวิชาคหกรรม มี 6 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อสตรี
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อชาย
แผนกวิชาช่างเสริมสวย
แผนกวิชาช่างตัดผม
แผนกวิชาอาหาร-ขนม
แผนกวิชาคหกรรมทั่วไป
3. ประเภทวิชาศิลปหัตถกรรม มี 4 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาศิลปประดิษฐ์
แผนกวิชาช่างภาพ
แผนกวิชาดนตรี
แผนกวิชาออกแบบโฆษณา
4. ประเภทวิชาพณิชยกรรม มี 3 แผนกวิชา ได้แก่
แผนกวิชาบัญชี
แผนกวิชาเลขานุการ
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์
ใช้เวลาเรียน 3 ปีในภาคการเรียนปกติ เปิดทำการสอน 4 แผนกวิชา คือ
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
แผนกวิชาช่างอิเลคทรอนิคส์
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
นักศึกษาสามารถเทียบโอนความรู้ จากสถาบันการศึกษาเดิม หรือเรียนในหลักสูตรระยะสั้น แล้วนำหน่วยกิตมาเทียบโอน และสะสมรายวิชาไปเรื่อย ๆ จนครบ ก็สามารถได้รับวุฒิ ปวช. ได้ เปิดทำการสอน 5 แผนกวิชา คือ
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
แผนกวิชาบัญชี
การเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
1. เป็นความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา
2. ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2545
3. ใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี
4. เรียนทฤษฎีในสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ
5. เมื่อสำเร็จการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของกรมอาชีวศึกษา
และประกาศนียบัตรรับรองความสามารถจากสถานประกอบการหรือสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
6. มีรายได้ขณะที่เรียน มีโอกาสที่จะประกอบอาชีพอิสระหรือเป็นเจ้าของกิจการ
7. มีโอกาสในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
แนวทางในการศึกษาต่อ
นักศึกษาที่จบหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทวิภาคี มีศักดิ์และสิทธิ์ในการศึกษาต่อเทียบเท่ากับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทั่วไป คือสามารถศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสถาบันของรัฐและเอกชนได้ทุกสถาบัน อีกทั้งยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี และสูงกว่าปริญญาตรีในสถาบันของรัฐและเอกชนได้ทุกสถาบัน
สิทธิที่จะได้รับขณะศึกษาจากสถานศึกษา
1. การเป็นนักศึกษาของสถานศึกษา
2. การศึกษาวิชาทหาร (รด.)
3. การเรียนทฤษฎีและปฏิบัติจากสถานศึกษา
4. การตรวจสุขภาพประจำปี
5. การประกันอุบัติเหตุขณะที่ศึกษาอยู่
สิทธิที่จะได้รับขณะศึกษาจากสถานประกอบการ
1. การเป็นพนักงานของสถานประกอบการ
2. ได้รับค่าตอบแทนในการฝึกงานจากสถานประกอบการ
3. การเรียนทฤษฎีและปฏิบัติจากสถานประกอบการ
4. สวัสดิการต่าง ๆ ในฐานะผู้ฝึกหัดงาน
เอกสารการสมัครเรียน
1. สำเนาวุฒิการศึกษา (รบ.)
2. สำเนาทะเบียนบ้าน
3. สำเนาบัตรประชาชน
4. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 3 รูป
5. เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล เป็นต้น
คุณสมบัติของผู้สมัคร
1. จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม 3.) หรือเทียบเท่า
2. มีร่างกายแข็งแรงเหมาะสมกับการฝึกวิชาชีพ
3. อายุตั้งแต่ 15 ปีเป็นต้นไป
4. ไม่จำกัดเพศ
5. มีใจรักในวิชาชีพ
6. เคารพในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
การรับสมัคร
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนครมีการประสานกับองค์กรเอกชนในการส่งนักศึกษาเข้าฝึกการทำงานจริง โดยปัจจุบันวิทยาลัยได้ทำการเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทวิภาคีจำนวน 4 แผนก คือ
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
แผนกวิชาช่างยนต์
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส
แผนกวิชาช่างพิมพ์
รับนักเรียนจากโรงเรียนของกรมสามัญศึกษา ในระดับมัธยมตอนปลาย เรียนวิชาชีพพื้นฐาน เพื่อโอนหน่วยกิต เปิดทำ การสอน 2 ประเภทวิชา คือ
ประเภททวิชาช่างอุตสาหกรรม
ประเภทวิชาพณิชยกรรม
จากส่วนราชการอื่น ๆ เช่น สถานสงเคราะห์หญิงบ้านปากเกร็ด สถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชนบางนา จัดสอน 5 แผนกวิชา คือ
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อสตรี
แผนกวิชาช่างตัดเสื้อชาย
แผนกวิชาช่างพิมพ์
แผนกวิชาช่างภาพ
แผนกวิชาช่างเสริมสวย
Comment