Announcement

Collapse
No announcement yet.

กำลัง-งงกับE2140กับD925

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • #16
    Originally posted by MMGLower View Post
    ทุน R&B ของ Intel เยอะกว่า คนรวยทำอะไรไม่น่าเกลียด *-*
    R&D ไม่ใช่เหรอ ?

    Comment


    • #17
      Originally posted by akiTheCrepe View Post
      R&D ไม่ใช่เหรอ ?


      ท่าน MMGLower อาจจะไม่ได้หมายถึง R&D ธรรมดาๆ R&B อาจจะมาจาก research and bullshit ก็ไ้ด้นะครับ...

      Comment


      • #18
        Originally posted by Bonobo View Post


        ท่าน MMGLower อาจจะไม่ได้หมายถึง R&D ธรรมดาๆ R&B อาจจะมาจาก research and bullshit ก็ไ้ด้นะครับ...

        แหม นึกว่าจาไม่มีคนเก็ทมุขเนอะ

        Comment


        • #19
          Originally posted by one View Post
          ขอแจมหน่อย หลายๆคนอาจจะสงสัยว่าทำไม่ ซีพียู (รุ่นใหม่)ที่มีสัญญาณนาฬิกาต่ำ ทำไมถึงแรงกว่า ซีพียูที่มีสัญญาณนาฬิกาที่สูงกว่า ระยะแรกอินเทลมุ่งเน้นพัฒนาซีพียูให้มีสัญญาณนาฬิกาให้สูงเข้าไว้เพราะคิดว่าสัญญาณนาฬิกาที่สูงขึ้นจะทำให้ซีพียูมีความเร็วมากขึ้น ที่ 3600 MHz อาจจะทำงานได้ 3600 ล้านคำสังต่อวินาที ยกตัวอย่างนะครับ รถยนต์ของอินเทลเครื่องยนต์ทำงานที่ 3600 รอบต่อนาที วิ่งได้ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ถ้าอยากให้วิ่งได้เร็วกว่านี้ก็จะต้องเพิ่มรอบเครื่องยนต์ไปอีก ที่120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อินเทลอาจจะต้องเพิ่ม รอบเครื่องยนต์ถึง 3800 รอบต่อนาที และปัญหาที่ตามมาก็คือความร้อนครับ ยิ่งรอบสูงๆ ความร้อนก็สูง กินน้ำมัน หลายๆอย่าง

          ทีนี้มาดูของ เอเอ็มดี กันบ้างนะครับ เอเอ็มดีไม่มุ่งเน้นพัฒนาด้านสัญญาณนาฬิกา แต่หันมาพัฒนาด้านคำสั่งแทน ที่ 1800 MHz อาจจะทำงานได้ 3600 ล้านคำสั่งต่อวินาที ยกตัวอย่าง รถของเอเอ็มดี เครื่องยนต์ทำงานที่ 1800 รอบต่อนาที วิ่งได้ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำไมถึงวิ่งได้เร็วเท่ากับอินเทล เพราะเอเอ็มดีไช้การทดเฟืองทดรอบแทนที่จะเพิ่มความเร็วรอบเหมือนอินเทล ที่รอมเครื่องยนที่ต่ำกว่า เอเอ็มดีจึงเร็วพอๆกับอินเทลไงล่ะครับ

          หันกลับมาที่ซีพียูครับ ทำไม่ ซีพียู (รุ่นใหม่)ที่มีสัญญาณนาฬิกาต่ำ ถึงแรงกว่า ซีพียูที่มีสัญญาณนาฬิกาที่สูงกว่า
          เพราะ ตอนนี้อินเทลหันกลับมาพัฒนาซีพียูของตัวเองแบบเอเอ็มดีไงล่ะครับ ที่สัญญาณนาฬิกาที่ต่ำกว่าจึงแรงกว่าซีพียู(รุ่นเก่า)ที่มีสัญญาณนาฬิกาสูงกว่า บวกกับชุดคำสั่งใหม่ๆและเทคโนโลยีการผลิตที่ทัยสมัยและอีกหลายๆอย่าง


          ผิดพลาดประการใดขออภัยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ


          เห็นภาพเลยคับ

          Comment


          • #20
            Originally posted by one View Post
            ขอแจมหน่อย หลายๆคนอาจจะสงสัยว่าทำไม่ ซีพียู (รุ่นใหม่)ที่มีสัญญาณนาฬิกาต่ำ ทำไมถึงแรงกว่า ซีพียูที่มีสัญญาณนาฬิกาที่สูงกว่า ระยะแรกอินเทลมุ่งเน้นพัฒนาซีพียูให้มีสัญญาณนาฬิกาให้สูงเข้าไว้เพราะคิดว่าสัญญาณนาฬิกาที่สูงขึ้นจะทำให้ซีพียูมีความเร็วมากขึ้น ที่ 3600 MHz อาจจะทำงานได้ 3600 ล้านคำสังต่อวินาที ยกตัวอย่างนะครับ รถยนต์ของอินเทลเครื่องยนต์ทำงานที่ 3600 รอบต่อนาที วิ่งได้ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ถ้าอยากให้วิ่งได้เร็วกว่านี้ก็จะต้องเพิ่มรอบเครื่องยนต์ไปอีก ที่120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อินเทลอาจจะต้องเพิ่ม รอบเครื่องยนต์ถึง 3800 รอบต่อนาที และปัญหาที่ตามมาก็คือความร้อนครับ ยิ่งรอบสูงๆ ความร้อนก็สูง กินน้ำมัน หลายๆอย่าง

            ทีนี้มาดูของ เอเอ็มดี กันบ้างนะครับ เอเอ็มดีไม่มุ่งเน้นพัฒนาด้านสัญญาณนาฬิกา แต่หันมาพัฒนาด้านคำสั่งแทน ที่ 1800 MHz อาจจะทำงานได้ 3600 ล้านคำสั่งต่อวินาที ยกตัวอย่าง รถของเอเอ็มดี เครื่องยนต์ทำงานที่ 1800 รอบต่อนาที วิ่งได้ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำไมถึงวิ่งได้เร็วเท่ากับอินเทล เพราะเอเอ็มดีไช้การทดเฟืองทดรอบแทนที่จะเพิ่มความเร็วรอบเหมือนอินเทล ที่รอมเครื่องยนที่ต่ำกว่า เอเอ็มดีจึงเร็วพอๆกับอินเทลไงล่ะครับ

            หันกลับมาที่ซีพียูครับ ทำไม่ ซีพียู (รุ่นใหม่)ที่มีสัญญาณนาฬิกาต่ำ ถึงแรงกว่า ซีพียูที่มีสัญญาณนาฬิกาที่สูงกว่า
            เพราะ ตอนนี้อินเทลหันกลับมาพัฒนาซีพียูของตัวเองแบบเอเอ็มดีไงล่ะครับ ที่สัญญาณนาฬิกาที่ต่ำกว่าจึงแรงกว่าซีพียู(รุ่นเก่า)ที่มีสัญญาณนาฬิกาสูงกว่า บวกกับชุดคำสั่งใหม่ๆและเทคโนโลยีการผลิตที่ทัยสมัยและอีกหลายๆอย่าง


            ผิดพลาดประการใดขออภัยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ
            เห็นภาพชัดเจนดีครับ

            เสริมอีกนิด เข้าไปหาข้อมูลเก่า ๆ ในเวปนี้ได้เลยครับ

            http://www.byxtreme.com/Article/AMDvsIntel/1.html

            www.byxtreme.com

            ความรู้เพียบ เก่าหน่อย แต่สามารถตอบโจทย์ปัจจุบันได้ครับ

            เครดิต www.byxtreme.com

            Comment

            Working...
            X