ในปัจจุบัน AMD พยายามที่จะต่อสู้ด้วยเทคโนโลยีการผลิต 7+ nm และนำระบบ Chiplet Design จาก IBM Power 9 Processor ที่อาม่าลิซ่าเคยร่วมออกแบบกับทีมงาน IBM
เพื่อต่อสู้กับ Intel ที่ยังคงพัฒนา CPU ภายใต้กฏของกอร์ดอน มัวร์ ผู้ก่อตั้ง Intel ทั้งสองค่ายมีแนวทางการพัฒนาที่ต่างกัน
Intel เริ่มเพิ่มประสิทธิภาพ CPU เข้าสู่ยุค Big Data และ AI กับ Skylake X/SP Microarchitect ในปี 2014 ตามด้วย Cascade Lake X/SP ในปี 2017 Cooper Lake
ในปี 2018 Icelake SP (Sunny Cove) ในปี 2019 Tigerlake (Willow Cove) ในปี 2020 Sapphire Rapid (Willow Cove+ ) ในปี 2021 Granite Rapid (Golden Cove)
ในปี 2022 Diamond Rapid (Ocean Cove) ในปี 2023 ด้วยการเพิ่มรีจิสเตอร์ขนาด 512-bit จำนวน 32 ชุดเข้าไปในแต่ละ Core เพื่อรองรับการประมวลผล Big Data และ AI
Intel AVX512 อาวุธลับที่ยังมีได้ใช้งานเต็มที่ของ Intel
Skylake X Microarchitect (C)2014 Intel Haifa Isarael Team design จุดเริ่มต้นของยุค 512-bit SIMD AVX512
แนวทางของ Intel คือการพัฒนาประสิทธิภาพต่อ Core ในสูงที่สุด แล้วจึงไปพัฒนา Fabric ในการส่งผ่านข้อมูลเป็นสำคัญเพื่อรองรับการประมวลผลในระดับสูง
ในขณะที่ AMD มองว่า ต้องการที่แย่ง Market Share จาก Intel ให้มากที่สุด จึงไม่ได้มองไปถึงอนาคตในระดับ AI และ Big Data เพราะมุ่งเน้นจับกลุ่มผู้ใช้ในระดับ Consumer เป็นหลัก
ชุดคำสั่งของ AMD จึงยังคงอยู่ในยุค 256-bit AVX ที่ Intel ใช้ใน Haswell Microarchitect ในปี 2012 เท่านั้น แต่ AMD ก็ฉลาดพอที่จะเล่นกับความคุ้มค่า ในเมื่อไส้ในสู้ Intel ไม่ได้ก็
ให้มาเยอะๆ ก็แล้วกัน พอถูๆ ไถๆ ขายได้ ชุดคำสั่งใหม่ไม่มี แต่เพิ่ม cache ให้ละกัน ปัจจุบัน CPU AMD Ryzen 3000 Series ที่พัฒนาจาก ZEN 2 Microarchitect บางรุ่นให้ cache L3
มากถึง 64MB 128MB เลยก็มี ส่วน Threadripper ก็ไปถึงระดับ 256MB L3 cache กันเลยในรุ่นท็อป
ผลจากการเพิ่ม L3 cache ของ AMD ก็ทำให้โปรแกรมที่ใช้ Memory Intensive มีการเข้าถึงหน่วยความจำบ่อยๆ อย่าง เกมส์ โปรแกรมเรนเดอร์ต่างๆ อาทิ VRAY CINEBENCH R20 และ
ซอฟต์แวร์ตัวเก่งของฝั่ง AMD ที่นิยมนำมาเปิดตัวผลิตภัณฑ์คือ Blender นั้นทำผลการทดสอบได้เหนือกว่า CPU ฝั่ง Intel เพราะจำนวน L3 cache ที่มหาศาลนั่นเอง แต่ถ้าวัดกันที่ Single Core
แล้ว AMD ZEN 2 Microarchitect ก็ยังไม่ใช่คู่ต่อสู้ของ Skylake Microarchitect และ Skylake X/SP Microarchitect ที่ Intel พัฒนามาตั้งแต่ปี 2013 และ 2014 ตามลำดับเลยครับ
ทีนี้ทุกท่านลองพิจารณาดูนะครับว่า AMD ZEN 2 นี่พัฒนาเสร็จปี 2019 ก่อนจะขายเมื่อช่วงปลายปีที่ผ่านมา ยังไม่สามารถเอาชนะ สถาปัตยกรรม Intel ที่พัฒนามาตั้งแต่ปี 2013 และ 2014 เลย
ในขณะที่ปัจจุบัน Intel ไปขนาดในภาพข้างล่างนี้แล้ว แฟนๆ AMD ที่หลงซื้อของเก่าอยู่ ถ้ารู้ความจริงแบบเรา จะช้ำใจขนาดไหนกันครับ
เพื่อต่อสู้กับ Intel ที่ยังคงพัฒนา CPU ภายใต้กฏของกอร์ดอน มัวร์ ผู้ก่อตั้ง Intel ทั้งสองค่ายมีแนวทางการพัฒนาที่ต่างกัน
Intel เริ่มเพิ่มประสิทธิภาพ CPU เข้าสู่ยุค Big Data และ AI กับ Skylake X/SP Microarchitect ในปี 2014 ตามด้วย Cascade Lake X/SP ในปี 2017 Cooper Lake
ในปี 2018 Icelake SP (Sunny Cove) ในปี 2019 Tigerlake (Willow Cove) ในปี 2020 Sapphire Rapid (Willow Cove+ ) ในปี 2021 Granite Rapid (Golden Cove)
ในปี 2022 Diamond Rapid (Ocean Cove) ในปี 2023 ด้วยการเพิ่มรีจิสเตอร์ขนาด 512-bit จำนวน 32 ชุดเข้าไปในแต่ละ Core เพื่อรองรับการประมวลผล Big Data และ AI
Intel AVX512 อาวุธลับที่ยังมีได้ใช้งานเต็มที่ของ Intel
Skylake X Microarchitect (C)2014 Intel Haifa Isarael Team design จุดเริ่มต้นของยุค 512-bit SIMD AVX512
แนวทางของ Intel คือการพัฒนาประสิทธิภาพต่อ Core ในสูงที่สุด แล้วจึงไปพัฒนา Fabric ในการส่งผ่านข้อมูลเป็นสำคัญเพื่อรองรับการประมวลผลในระดับสูง
ในขณะที่ AMD มองว่า ต้องการที่แย่ง Market Share จาก Intel ให้มากที่สุด จึงไม่ได้มองไปถึงอนาคตในระดับ AI และ Big Data เพราะมุ่งเน้นจับกลุ่มผู้ใช้ในระดับ Consumer เป็นหลัก
ชุดคำสั่งของ AMD จึงยังคงอยู่ในยุค 256-bit AVX ที่ Intel ใช้ใน Haswell Microarchitect ในปี 2012 เท่านั้น แต่ AMD ก็ฉลาดพอที่จะเล่นกับความคุ้มค่า ในเมื่อไส้ในสู้ Intel ไม่ได้ก็
ให้มาเยอะๆ ก็แล้วกัน พอถูๆ ไถๆ ขายได้ ชุดคำสั่งใหม่ไม่มี แต่เพิ่ม cache ให้ละกัน ปัจจุบัน CPU AMD Ryzen 3000 Series ที่พัฒนาจาก ZEN 2 Microarchitect บางรุ่นให้ cache L3
มากถึง 64MB 128MB เลยก็มี ส่วน Threadripper ก็ไปถึงระดับ 256MB L3 cache กันเลยในรุ่นท็อป
ผลจากการเพิ่ม L3 cache ของ AMD ก็ทำให้โปรแกรมที่ใช้ Memory Intensive มีการเข้าถึงหน่วยความจำบ่อยๆ อย่าง เกมส์ โปรแกรมเรนเดอร์ต่างๆ อาทิ VRAY CINEBENCH R20 และ
ซอฟต์แวร์ตัวเก่งของฝั่ง AMD ที่นิยมนำมาเปิดตัวผลิตภัณฑ์คือ Blender นั้นทำผลการทดสอบได้เหนือกว่า CPU ฝั่ง Intel เพราะจำนวน L3 cache ที่มหาศาลนั่นเอง แต่ถ้าวัดกันที่ Single Core
แล้ว AMD ZEN 2 Microarchitect ก็ยังไม่ใช่คู่ต่อสู้ของ Skylake Microarchitect และ Skylake X/SP Microarchitect ที่ Intel พัฒนามาตั้งแต่ปี 2013 และ 2014 ตามลำดับเลยครับ
ทีนี้ทุกท่านลองพิจารณาดูนะครับว่า AMD ZEN 2 นี่พัฒนาเสร็จปี 2019 ก่อนจะขายเมื่อช่วงปลายปีที่ผ่านมา ยังไม่สามารถเอาชนะ สถาปัตยกรรม Intel ที่พัฒนามาตั้งแต่ปี 2013 และ 2014 เลย
ในขณะที่ปัจจุบัน Intel ไปขนาดในภาพข้างล่างนี้แล้ว แฟนๆ AMD ที่หลงซื้อของเก่าอยู่ ถ้ารู้ความจริงแบบเรา จะช้ำใจขนาดไหนกันครับ
Comment