เรื่องของ AA มารอบนี้จัดเต็มๆหลังจากศึกษามาซักหน่อย ไม่ยาวมากให้อ่านกันจนเมื่อยตาอีกต่อไป จัดหนักเน้นเนื้อครับ
AA คืออะไร AA คือถ่านไฟฉาย 2 ก้อน 15 บาท ถุยส์ (ไหนเมิงว่าเนื้อๆไง)
AA ในภาษาการ์ดจอคือ ระบบ ลดรอยหยักครับ
แต่มันทำงานยังไงล่ะ เอางี้ เคยดู Ria Sakurai ชุดนักเรียนสาวน่ารักๆ ที่โดนลุยทะลวงหมู่หรือยัง (โว๊ย เมิงจะพาออกอ่าวไปไหนเนี่ย ตังเกี๋ยแล้วนะเว้ย)
เอาล่ะๆ เอาดีๆ เวลาเราดูหนัง หรือ ไฟล์อะไรบางอย่าง แม้แต่รูปภาพ ที่มีความละเอียดระดับหนึ่ง สมมติ ความละเอียดซัก 1280 * 1024 แล้วกันนะครับ (จอสแควร์โบราณมากๆ)
แล้วคราวนี้เราลอง"ลดขนาดให้มันเล็กลง ภาพจะมีความคมมากขึ้น"
จริงมั้ย เหมือนกัน คลิปหลุดดาราหน้าเหมือน โหลดจากมือถือมา โหยภาพอย่าง "ไฮเดฟ อะ" แต่พอเอามาต่อจอใหญ่ โฮ๊ย แตกเป็นพิกเซลเลย เหลี่ยมๆ ซะ
นั่นไงล่ะ
ดังนั้น AA หรือ Anti - Aliasing ก็คือการ ลดรอยหยักของภาพนั่นเอง ซึ่งหลักการทำงานที่ว่าก้คือ วิธีที่ผมบอกไปนั่นเองก็คือ
"เรนเดอร์ใหญ่กว่าภาพจริง และลดขนาดลงมาแสดงผลให้เท่าขนาดภาพที่ต้องการ"
เช่น เล่นความละเอียด 1080P กันไปเลย แต่เปิด 4XAA แสดงว่าเวลาแสดงผลภาพออกมาเนี่ย ก่อนจะแสดงผลได้ มันจะต้องเรนเดอร์ภาพที่ใหญ่กว่า ขนาดที่จะแสดง (1080P) ซึ่ง ใน 1080P นั้น จะเป็นความละเอียดขนาด 1920*1080P ซึ่งดดยประมาณแล้ว จะใช้ Pixel ประมาณ 2 ล้าน Dot
แปลว่าที่ 4AA มันจะต้องสร้างภาพความละเอียดสูงกว่านั้นถึง 4 เท่า ก็คือ 8 ล้าน Pixel กันเลยทีเดียว แล้วลองคิดดูว่า การ์ดจอ หากทำงานกันที่ความละเอียดหนักๆ และยังเปิด AA เยอะๆ เนี่ย มันจะเอาข้อมูลไปเก็บไว้ไหนกันล่ะทีนี้
"ก็เก็บไว้ที่แรมไงล่ะ"
นี่แหละคือเหตุผลที่ว่า ทำไม แรมเยอะๆ จึงเล่นเกมส์ เปิด AA ได้ลื่นกว่า ทั้งๆที่ ชิพเซ็ตบางครั้งอาจจะแรงไม่เท่ากับตัวที่แรมน้อยกว่า (อย่างกรณี GTX 470 กับ HTX 560Ti ที่เห็นได้ชัดว่า 470 ชิพสู้ไม่ได้ แต่กรณีเล่นเกมส์จริงๆเมื่อเปิด AA แล้ว กลับทำได้นิ่งกว่า และ กรณีมองยาก แต่เห็นง่ายอย่าง GTX 480 VS GTX 570 นั่นเอง ที่ ทั้งๆที่ความเร็วประมวลผลต่างๆ GTX 570 จะดีกว่า แต่ทว่า เมื่อเล่นเกมส์ GTX 480 มันกลับนิ่งกว่าในเรื่องของการเปิด AA นั่นเอง)
ดังนั้น แรมบนระบบที่การ์ดจอที่เยอะๆก็ช่วยให้เปิด AA ได้ดีขึ้น แต่ว่า แล้วทำไม
"บางตัวแรมเยอะแท้ๆแต่กระตุก"
ก็เพราะชิพเซ็ตมันช้านี่เอง
อย่างกรณีตัวอย่างที่เคยเกิด โดยท่าน Ice Berg จัดการให้เราได้เห็นคือ 6950 VS GTX 560Ti ซึ่งในการเปิด AA มากๆเข้า บนเกมส์เดียวกัน เห็นได้ชัดๆเลยว่า เฟรม "หล่นระนาว" กันเลยทีเดียว (ในขณธที่ตอนไม่เปิด AA กลับทำเฟรมได้ดีกว่าด้วยซ้ำ)
ดังนั้นแล้ว "แรมไม่ใช่เรื่องหลัก มันคือเรื่องรอง แต่ก็ไม่ควรมองข้าม " นั่นเอง
เอาล่ะ คราวนี้ ไอ้ AA จริงๆมันยังมีหลายรูปแบบอีก ทั้ง SSAA MSAA CSAA EQAA (อันหลัง 2 อันนั้น จะเป็นของแต่ละค่ายครับ) ตรงส่วนนี้ไปศึกษากันเอาเองก็ดีครับ ผมจะบอกแค่ 2 ตัวหลักให้รู้คือ
SSAA หรือ SuperSample ไอ้นี่คือ AA ที่สวยที่สุดครับแต่กินทรัพยากรเครื่องมากที่สุด เพราะมันจะเล่นรูปแบบเดิมๆดุ้นๆแล้วครับก็คือ
"กรูจะรันทั้งภาพ" มันจะรันยกระบบครับ ภาพมาเท่าไร ใส่ไปเต็มๆไม่ยั้ง (ขยายก่อนแล้วย่อลงมา) แบบนี้เปลืองสุดๆ
MSAA หรือ Multi - Sample ไอ้นี่คือ AA ที่ลดรูปแบบลง คือ เอาเฉพาะจุดสำคัญๆ แต่เรื่องของ แสง เงา ต่างๆ จะไม่ทำให้ (ทำให้เราเห็นลูกกรงต่างๆ มีรอยหยักอยู่ หรือ เงาตัวละครในเกมส์เวลาทอดลงพื้นจะหยักๆเป็นรอย) แต่จะเน้นตรงพื้นที่หลักๆ นั่นเอง
นอกนั้น ศึกษาเอง เพราะเป็นของ 2 ค่าย อิอิ
นี่เองที่เป็นเหตุผลว่า ทำไมเวลาเราเปิด AA แล้ว เฟรมเรทมันตก ยิ่ง AA สูง ยิ่งตก ในขณะที่ทั้งๆที่การ์ดจอบางตัว แรงมากๆ แต่เมื่อเปิด AA แล้วแรงตก เฟรมหล่น
และ ทำไม แม้จะบอกว่า AA ขึ้นอยู่กับแรม แต่การ์ดจอบางตัว แรมเยอะแท้ๆ แต่กลับเปิด AA ได้ไม่มาก เท่า เพราะว่า ชิพเซ็ต ไม่แรงพอที่จะเรนเดอร์ภาพขนาดใหญ่มากๆได้เร็วๆนั่นเอง
ดังนั้น Anti Aliasing คือสิ่งชี้วัดความเก๋าเกมส์ของการ์ดจออย่างแท้จริงนั่นเอง
AA คืออะไร AA คือถ่านไฟฉาย 2 ก้อน 15 บาท ถุยส์ (ไหนเมิงว่าเนื้อๆไง)
AA ในภาษาการ์ดจอคือ ระบบ ลดรอยหยักครับ
แต่มันทำงานยังไงล่ะ เอางี้ เคยดู Ria Sakurai ชุดนักเรียนสาวน่ารักๆ ที่โดนลุยทะลวงหมู่หรือยัง (โว๊ย เมิงจะพาออกอ่าวไปไหนเนี่ย ตังเกี๋ยแล้วนะเว้ย)
เอาล่ะๆ เอาดีๆ เวลาเราดูหนัง หรือ ไฟล์อะไรบางอย่าง แม้แต่รูปภาพ ที่มีความละเอียดระดับหนึ่ง สมมติ ความละเอียดซัก 1280 * 1024 แล้วกันนะครับ (จอสแควร์โบราณมากๆ)
แล้วคราวนี้เราลอง"ลดขนาดให้มันเล็กลง ภาพจะมีความคมมากขึ้น"
จริงมั้ย เหมือนกัน คลิปหลุดดาราหน้าเหมือน โหลดจากมือถือมา โหยภาพอย่าง "ไฮเดฟ อะ" แต่พอเอามาต่อจอใหญ่ โฮ๊ย แตกเป็นพิกเซลเลย เหลี่ยมๆ ซะ
นั่นไงล่ะ
ดังนั้น AA หรือ Anti - Aliasing ก็คือการ ลดรอยหยักของภาพนั่นเอง ซึ่งหลักการทำงานที่ว่าก้คือ วิธีที่ผมบอกไปนั่นเองก็คือ
"เรนเดอร์ใหญ่กว่าภาพจริง และลดขนาดลงมาแสดงผลให้เท่าขนาดภาพที่ต้องการ"
เช่น เล่นความละเอียด 1080P กันไปเลย แต่เปิด 4XAA แสดงว่าเวลาแสดงผลภาพออกมาเนี่ย ก่อนจะแสดงผลได้ มันจะต้องเรนเดอร์ภาพที่ใหญ่กว่า ขนาดที่จะแสดง (1080P) ซึ่ง ใน 1080P นั้น จะเป็นความละเอียดขนาด 1920*1080P ซึ่งดดยประมาณแล้ว จะใช้ Pixel ประมาณ 2 ล้าน Dot
แปลว่าที่ 4AA มันจะต้องสร้างภาพความละเอียดสูงกว่านั้นถึง 4 เท่า ก็คือ 8 ล้าน Pixel กันเลยทีเดียว แล้วลองคิดดูว่า การ์ดจอ หากทำงานกันที่ความละเอียดหนักๆ และยังเปิด AA เยอะๆ เนี่ย มันจะเอาข้อมูลไปเก็บไว้ไหนกันล่ะทีนี้
"ก็เก็บไว้ที่แรมไงล่ะ"
นี่แหละคือเหตุผลที่ว่า ทำไม แรมเยอะๆ จึงเล่นเกมส์ เปิด AA ได้ลื่นกว่า ทั้งๆที่ ชิพเซ็ตบางครั้งอาจจะแรงไม่เท่ากับตัวที่แรมน้อยกว่า (อย่างกรณี GTX 470 กับ HTX 560Ti ที่เห็นได้ชัดว่า 470 ชิพสู้ไม่ได้ แต่กรณีเล่นเกมส์จริงๆเมื่อเปิด AA แล้ว กลับทำได้นิ่งกว่า และ กรณีมองยาก แต่เห็นง่ายอย่าง GTX 480 VS GTX 570 นั่นเอง ที่ ทั้งๆที่ความเร็วประมวลผลต่างๆ GTX 570 จะดีกว่า แต่ทว่า เมื่อเล่นเกมส์ GTX 480 มันกลับนิ่งกว่าในเรื่องของการเปิด AA นั่นเอง)
ดังนั้น แรมบนระบบที่การ์ดจอที่เยอะๆก็ช่วยให้เปิด AA ได้ดีขึ้น แต่ว่า แล้วทำไม
"บางตัวแรมเยอะแท้ๆแต่กระตุก"
ก็เพราะชิพเซ็ตมันช้านี่เอง
อย่างกรณีตัวอย่างที่เคยเกิด โดยท่าน Ice Berg จัดการให้เราได้เห็นคือ 6950 VS GTX 560Ti ซึ่งในการเปิด AA มากๆเข้า บนเกมส์เดียวกัน เห็นได้ชัดๆเลยว่า เฟรม "หล่นระนาว" กันเลยทีเดียว (ในขณธที่ตอนไม่เปิด AA กลับทำเฟรมได้ดีกว่าด้วยซ้ำ)
ดังนั้นแล้ว "แรมไม่ใช่เรื่องหลัก มันคือเรื่องรอง แต่ก็ไม่ควรมองข้าม " นั่นเอง
เอาล่ะ คราวนี้ ไอ้ AA จริงๆมันยังมีหลายรูปแบบอีก ทั้ง SSAA MSAA CSAA EQAA (อันหลัง 2 อันนั้น จะเป็นของแต่ละค่ายครับ) ตรงส่วนนี้ไปศึกษากันเอาเองก็ดีครับ ผมจะบอกแค่ 2 ตัวหลักให้รู้คือ
SSAA หรือ SuperSample ไอ้นี่คือ AA ที่สวยที่สุดครับแต่กินทรัพยากรเครื่องมากที่สุด เพราะมันจะเล่นรูปแบบเดิมๆดุ้นๆแล้วครับก็คือ
"กรูจะรันทั้งภาพ" มันจะรันยกระบบครับ ภาพมาเท่าไร ใส่ไปเต็มๆไม่ยั้ง (ขยายก่อนแล้วย่อลงมา) แบบนี้เปลืองสุดๆ
MSAA หรือ Multi - Sample ไอ้นี่คือ AA ที่ลดรูปแบบลง คือ เอาเฉพาะจุดสำคัญๆ แต่เรื่องของ แสง เงา ต่างๆ จะไม่ทำให้ (ทำให้เราเห็นลูกกรงต่างๆ มีรอยหยักอยู่ หรือ เงาตัวละครในเกมส์เวลาทอดลงพื้นจะหยักๆเป็นรอย) แต่จะเน้นตรงพื้นที่หลักๆ นั่นเอง
นอกนั้น ศึกษาเอง เพราะเป็นของ 2 ค่าย อิอิ
นี่เองที่เป็นเหตุผลว่า ทำไมเวลาเราเปิด AA แล้ว เฟรมเรทมันตก ยิ่ง AA สูง ยิ่งตก ในขณะที่ทั้งๆที่การ์ดจอบางตัว แรงมากๆ แต่เมื่อเปิด AA แล้วแรงตก เฟรมหล่น
และ ทำไม แม้จะบอกว่า AA ขึ้นอยู่กับแรม แต่การ์ดจอบางตัว แรมเยอะแท้ๆ แต่กลับเปิด AA ได้ไม่มาก เท่า เพราะว่า ชิพเซ็ต ไม่แรงพอที่จะเรนเดอร์ภาพขนาดใหญ่มากๆได้เร็วๆนั่นเอง
ดังนั้น Anti Aliasing คือสิ่งชี้วัดความเก๋าเกมส์ของการ์ดจออย่างแท้จริงนั่นเอง
Comment