เทคนิคการเชื่อมต่อ PSU 2 ตัวเข้าด้วยกัน
แวะมาเติมข้อมูลให้กันสักเล็กน้อย สำหรับผู้ที่ต้องการใช้เพาเวอร์ซัพพลายตัวเดียวมาตลอดก็จะรู้ว่าเจ้าสายสำหรับจ่ายไฟให้กับซีพียู 8 ขานั้นมีอยู่เพียงเส้นเดียวเท่านั้น และสายเส้นนี้ก็จะไม่มีขายแยกอีกต่างหากด้วย นั่นจึงหมายความว่าคุณจะต้องหาเพาเวอร์ซัพพลายลูกใหม่ที่มีสายไฟนี้ 2 เส้น แต่ถ้าหากมันไม่มีขายอีกล่ะ จะไปหามาจากไหนกัน แล้วเพาเวอร์อีกลูกหนึ่งที่นอนอยู่ข้างๆ ล่ะในเมื่อมันมีสายไฟเส้นนั้นที่เราต้องการจะเอามาใช้ร่วมกันได้มั้ยนะ แต่ใครจะรู้ครับว่ามันสามารถแฮ็กด้วยเทคนิคที่คล้ายกับการขโมยรถมอเตอร์ไซค์กับเพาเวอร์ซัพพลายตัวอื่นได้เช่นกัน วิธีการมีดังนี้ครับ
1. นำเพาเวอร์ลูกที่สองมาเสียบสายไฟซีพียูลงเมนบอร์ด หรือเสียบตรงตำแหน่งที่ต้องการ
2. นำสายไฟเพาเวอร์หลักของลูกที่สองแยกออกมาต่างหาก แล้วหากลวดหรือคลิปหนีบกระดาษก็ได้ อะไรก็ตามที่มีลักษณะเป็นลวด แล้วจิ้มมันลงในรูของสาย “สีดำและสีเขียว” เท่านั้น (สีดำรูไหนก็ได้) เพื่อเป็นตัวสปาร์คสัญญาณให้รู้ว่าเราสั่งมันให้ทำงาน
3. เสียบปลั๊กไฟปกติของเพาเวอร์ตัวที่สองแล้วเปิดสวิตช์ (on) เราจะเห็นพัดลมซีพียูทำงาน แสดงว่าถูกต้อง (ไม่ต้องตกใจ)
4. เพาเวอร์ตัวหลักเสียบปกติทุกอย่าง ทั้งสายเพาเวอร์หลัก สายซีพียู สายการ์ดจอ เสร็จเรียบร้อย เปิดสวิตช์ (on) แล้วกดปุ่มเปิดเครื่องปกติ เครื่องก็จะทำงานโดยใช้งานเพาเวอร์ 2 ตัวได้แล้ว
บางคนมีติดเคสมา สัก 450w แล้วจะเพิ่ม ซื้ออีก 450w หรือ500w มาพ่วงก็สบายกระเป๋าแล้ว
สำหรับคนงบน้อย น่ะ ของผม Tagan Bz600w กะ Delux 450w ที่ใช้อยู่รวม 1050wแล้วหรือที่เรียกว่า OC PSU 55 (คิดเองนะเนี่ย)
แวะมาเติมข้อมูลให้กันสักเล็กน้อย สำหรับผู้ที่ต้องการใช้เพาเวอร์ซัพพลายตัวเดียวมาตลอดก็จะรู้ว่าเจ้าสายสำหรับจ่ายไฟให้กับซีพียู 8 ขานั้นมีอยู่เพียงเส้นเดียวเท่านั้น และสายเส้นนี้ก็จะไม่มีขายแยกอีกต่างหากด้วย นั่นจึงหมายความว่าคุณจะต้องหาเพาเวอร์ซัพพลายลูกใหม่ที่มีสายไฟนี้ 2 เส้น แต่ถ้าหากมันไม่มีขายอีกล่ะ จะไปหามาจากไหนกัน แล้วเพาเวอร์อีกลูกหนึ่งที่นอนอยู่ข้างๆ ล่ะในเมื่อมันมีสายไฟเส้นนั้นที่เราต้องการจะเอามาใช้ร่วมกันได้มั้ยนะ แต่ใครจะรู้ครับว่ามันสามารถแฮ็กด้วยเทคนิคที่คล้ายกับการขโมยรถมอเตอร์ไซค์กับเพาเวอร์ซัพพลายตัวอื่นได้เช่นกัน วิธีการมีดังนี้ครับ
1. นำเพาเวอร์ลูกที่สองมาเสียบสายไฟซีพียูลงเมนบอร์ด หรือเสียบตรงตำแหน่งที่ต้องการ
2. นำสายไฟเพาเวอร์หลักของลูกที่สองแยกออกมาต่างหาก แล้วหากลวดหรือคลิปหนีบกระดาษก็ได้ อะไรก็ตามที่มีลักษณะเป็นลวด แล้วจิ้มมันลงในรูของสาย “สีดำและสีเขียว” เท่านั้น (สีดำรูไหนก็ได้) เพื่อเป็นตัวสปาร์คสัญญาณให้รู้ว่าเราสั่งมันให้ทำงาน
3. เสียบปลั๊กไฟปกติของเพาเวอร์ตัวที่สองแล้วเปิดสวิตช์ (on) เราจะเห็นพัดลมซีพียูทำงาน แสดงว่าถูกต้อง (ไม่ต้องตกใจ)
4. เพาเวอร์ตัวหลักเสียบปกติทุกอย่าง ทั้งสายเพาเวอร์หลัก สายซีพียู สายการ์ดจอ เสร็จเรียบร้อย เปิดสวิตช์ (on) แล้วกดปุ่มเปิดเครื่องปกติ เครื่องก็จะทำงานโดยใช้งานเพาเวอร์ 2 ตัวได้แล้ว
บางคนมีติดเคสมา สัก 450w แล้วจะเพิ่ม ซื้ออีก 450w หรือ500w มาพ่วงก็สบายกระเป๋าแล้ว
สำหรับคนงบน้อย น่ะ ของผม Tagan Bz600w กะ Delux 450w ที่ใช้อยู่รวม 1050wแล้วหรือที่เรียกว่า OC PSU 55 (คิดเองนะเนี่ย)
Comment