Announcement

Collapse
No announcement yet.

ถ้าเอาพัดลม มาต่ออนุกรมกันซัก 10 ตัวจะเกิดอะไรขึ้น

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • #31
    เท่าที่เรียนมา...
    การต่ออนุกรมมากๆทำให้แรงดันลดลงแต่กระแสเท่าเดิม
    กลับกัน
    ถ้าต่อแบบขนานมากๆทำให้กระแสลดลงแต่แรงดันเท่าเดิม

    ปล.ผิดถูกไงบอกด้วย วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าได้เกรด 1.5 - -*

    Comment


    • #32
      ผมว่า เบากว่าเดิมนะ เพราะมันเฉลี่ย Volt

      ถ้าขนาน มันถึงจะแรงเท่ากัน แต่ Amp ลด

      หรือ ผมจำสลับกัน - -******

      Comment


      • #33
        งง มันคืออะไร คนเรียนนิติอย่างผมเง็งเลย

        Comment


        • #34
          พัดลมใกล้แหล่งจ่ายไฟจะแรงสุด ไกลแรงจ่ายไฟจะเบาสุด เพราะพัดลมทุกตัวมีความต้านทาน

          ต่อแบบขนานจะแรงเท่ากันทุกตัว เว้นแต่ไฟไม่พอ ไม่หมุนสักตัว เอิ๊กๆๆ

          Comment


          • #35
            Voltage drop อย่างรุนแรง

            Comment


            • #36
              พัดลมไม่หมุน โหลดvเกิน PSU ระเบิด

              Comment


              • #37
                เคยลองที่5ตัวติดกัน

                ก็รันปกตินะ

                Comment


                • #38
                  เข้าใจว่า จขกท หมายถึงตัวพัดลมมาต่อๆกัน
                  คงไม่ได้หมายถึงเอาสายไฟมาอนุกรมมั้ง 10 ตัว แค่หมุนได้ก็บุญแล้ว

                  ความคิดผมนะ ผมว่า
                  ถ้าเอาพัดลมมาต่อๆกัน น่าจะแรงขึ้น แต่ไม่ใช่ 10 เท่า อาจจะเรียกว่าเท่าเดิมด้วยซ้ำ ถ้าวัดที่ใบพัดพัดลมตัวที่สิบ
                  แต่ข้อดีคือ ตลอดความยาวท่อ 25 cm นั้น มีลมหมุนแรงต่อเนื่อง แรงสม่ำเสมอ
                  เทียบกับพัดลมตัวเดียว วัดแรงลมที่***งจากใบพัดไป 25 cm แรงตกสุดๆ ตามต้านของอากาศ

                  นึกภาพ คน1คนเตะบอลได้ไกล2เมตร
                  คน10คนยืนต่อแถวกัน เตะส่งๆไป มันก็ไปไกลกว่าเท้าคนที่10ไม่เกิน4เมตรหรอก
                  แต่ถ้าเทียบกับเท้าคนแรก มันก็ไกล 24เมตรได้
                  ดังนั้นประโยชน์ไม่น่าจะเอาไปสร้างลมพายุ แต่เอาไว้สร้างอุโมงลม
                  เช่น sink ที่ติดพัดลม 2 ตัว เพื่อใช้สู้กับแรงต้านอากาศและแรงเสียดทานที่ fin นั่นเอง

                  ปล.ทฤษฏีนี้ใช้ไม่ได้กับสูญญากาศ เพราะมันไม่มีแรงต้านอากาศ แต่เอ๊ะ มันก็ไม่มีอากาศให้พัดนี่หว่า
                  ปล.2ทฤษฎีนี้ด้นสดเองตะกี๊ ใครมีความรู้ดีๆช่วยแก้ให้ผมที

                  Comment


                  • #39
                    อืมม

                    Comment


                    • #40
                      จำไว้ว่า
                      ต่ออนุกรม I เท่า V ไม่เท่า
                      ต่อขนาน V เท่า I ไม่เท่า

                      Comment


                      • #41
                        Originally posted by AmaKatsu View Post
                        2. แรงเท่าเดิม + เปลืองไฟมากกว่าเดิม 9 เท่า
                        +เสียงดังชิปLost

                        Originally posted by Dej_SAVAGE View Post
                        พัดลมไม่หมุน โหลดvเกิน PSU ระเบิด

                        อยากเห็นตอนระเบิดจัง

                        Originally posted by madcat View Post
                        ...แปลกตา แต่ไม่ได้เรื่อง(แรงสู้ลมบ้านหม้อตัวเดียวไม่ได้, กินไฟ, เสียวดัง, เปลืองเนื้อที่, โดนบ่นว่าไม่เข้าท่า, เก็บเงินไว้กินข้าวดีกว่า)

                        XP

                        Comment


                        • #42
                          Originally posted by es_ciro View Post
                          เข้าใจว่า จขกท หมายถึงตัวพัดลมมาต่อๆกัน
                          คงไม่ได้หมายถึงเอาสายไฟมาอนุกรมมั้ง 10 ตัว แค่หมุนได้ก็บุญแล้ว

                          ความคิดผมนะ ผมว่า
                          ถ้าเอาพัดลมมาต่อๆกัน น่าจะแรงขึ้น แต่ไม่ใช่ 10 เท่า อาจจะเรียกว่าเท่าเดิมด้วยซ้ำ ถ้าวัดที่ใบพัดพัดลมตัวที่สิบ
                          แต่ข้อดีคือ ตลอดความยาวท่อ 25 cm นั้น มีลมหมุนแรงต่อเนื่อง แรงสม่ำเสมอ
                          เทียบกับพัดลมตัวเดียว วัดแรงลมที่******งจากใบพัดไป 25 cm แรงตกสุดๆ ตามต้านของอากาศ

                          นึกภาพ คน1คนเตะบอลได้ไกล2เมตร
                          คน10คนยืนต่อแถวกัน เตะส่งๆไป มันก็ไปไกลกว่าเท้าคนที่10ไม่เกิน4เมตรหรอก
                          แต่ถ้าเทียบกับเท้าคนแรก มันก็ไกล 24เมตรได้
                          ดังนั้นประโยชน์ไม่น่าจะเอาไปสร้างลมพายุ แต่เอาไว้สร้างอุโมงลม
                          เช่น sink ที่ติดพัดลม 2 ตัว เพื่อใช้สู้กับแรงต้านอากาศและแรงเสียดทานที่ fin นั่นเอง

                          ปล.ทฤษฏีนี้ใช้ไม่ได้กับสูญญากาศ เพราะมันไม่มีแรงต้านอากาศ แต่เอ๊ะ มันก็ไม่มีอากาศให้พัดนี่หว่า
                          ปล.2ทฤษฎีนี้ด้นสดเองตะกี๊ ใครมีความรู้ดีๆช่วยแก้ให้ผมที
                          อืม....อ่านดูแล้ว งง ๆ แต่รู้สึกดูดี มีหลักการดีครับ..

                          Comment


                          • #43
                            ถ้าต่อแบบนี้ แรงๆๆๆๆๆ

                            Comment


                            • #44
                              เรปบน สุดยอก มากส์ๆๆ

                              P=IV V=IR P=IIR หรือป่าว งง จำไม่ได้ คืนจารย์ไปหมดแล้ว

                              Comment

                              Working...
                              X